APR2101 สารสนเทศและการสื่อสารทางธุรกิจ ภาค 1 ปีการศึกษา 2553

การสอบไล่ภาค 1 ปีการศึกษา 2553
ข้อสอบกระบวนวิชา APR2101 สารสนเทศและการสื่อสารทางธุรกิจ

คำสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว (ข้อสอบมีทั้งหมด 80 ข้อ)

Reading Comprehension (การอ่านเพื่อทำความเข้าใจ)

Today, many elderly people in industrialized countries suffer from depression. In the past, most older people live with or near other members of the family, and they usually had some responsibilities around the home. For example, older women could help take care the children or prepare meals. Older men could help their sons at work or around the house. These days, married children often prefer to live on their own, sometimes far away from their parents. Thus older people may be cut off from family ties. They may also feel cut off from the world around them. The many rapid changes that have taken place in technology, entertainment, and travel have led some older people to feel that they do not belong any more.

ทุกวันนี้ผู้สูงอายุจำนวนมากในประเทศอุตสาหกรรมต้องทนทุกข์จากภาวะซึมเศร้า ในอดีตนั้นคนชราส่วนใหญ่อาศัยอยู่กับหรือใกล้ ๆ กับสมาชิกคนอื่นในครอบครัว และพวกเขามักจะมีหน้าที่รับผิดชอบบางอย่างภายในบ้านอยู่เสมอ ตัวอย่างเช่น ผู้หญิงสูงอายุสามารถช่วยดูแลเด็ก ๆ หรือตระเตรียมอาหารได้ ส่วนผู้ชายสูงอายุก็สามารถช่วยลูกชายของตนทำงานหรือดูแลเรื่องรอบ ๆ บ้าน ปัจจุบันนี้ลูกที่แต่งงานแล้วมักชอบที่จะอยู่ด้วยตัวเองตามลำพัง บางครั้งก็แยกบ้านออกมาอยู่ห่างไกลจากพ่อแม่ ดังนั้นคนชราอาจเหมือนถูกตัดขาดจากสายสัมพันธ์ของครอบครัว นอกจากนี้พวกเขายังรู้สึกเหมือนถูกตัดออกจากโลกรอบ ๆ ตัวของพวกเขาด้วย การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วหลาย ๆ อย่างซึ่งเกิดขึ้นในรูปของเทคโนโลยีความบันเทิง และการเดินทางท่องเที่ยว ล้วนแต่ทำให้คนชรารู้สึกว่าพวกเขาไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของโลกปัจจุบันอีกต่อไปแล้ว

1. What is the topic for the above passage ?
(1) Depression
(2) Suffering of Elderly
(3) Industrialize Countries
(4) Married Children
ถาม หัวเรื่องที่ดีที่สุดสำหรับเนื้อเรื่องข้างต้นนี้คืออะไร
ตอบ 2 (ความทุกข์ของผู้สูงอายุ) 1. ภาวะซึมเศร้า
1. ประเทศอุตสาหกรรม 4. ลูกที่แต่งงานแล้ว

2. The phrase “suffer from depression” means _________
(1) hurt
(2) serious
(3) stress
(4) injure
ถาม วลีที่ว่า “suffer from depression”(ทนทุกข์จากภาวะซึมเศร้า) หมายถึง_______
ตอบ 3 (ความเครียด) 1. ทำให้เจ็บปวด 2. ที่เคร่งเครียด 4. บาดเจ็บ

3. The phrase “ cut off from family ties” means _________
(1) No more family
(2) (2) cut the family
(3) not relate with the family
(4) got off from the family
ถาม วิลีที่ว่า “out off from the family lies”(ตัดขาดจากสายสัมพันธ์ของครอบครัว) หมายถึง_________
ตอบ 3 (ไม่มีความเกี่ยวพันกับครอบครัว) 1. ไม่มีครอบครัวอีกต่อไป
1. ตัดขาดจากครอบครัว 4. ออกมาจากครอบครัว

4. How many evidence did the writer gave to support responsibilities ?
(1) one evidence
(2) two evidence
(3) three evidence
(4) none
ถาม มีข้อพิสูจน์กี่ประการที่ผู้เขียนยกขึ้นมาสนับสนุนหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้สูงอายุ
ตอบ 2 (2 ประการ) 1.ประการเดียว 3. 3 ประการ 4.ไม่มีข้อใดถูก

5. Where was the residence of the elderly in the past ?
(1) away from their children
(2) further from their children
(3) close to their children
(4) separate from their children
ถาม ที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุในอดีตคือที่ไหน
ตอบ 3 (อยู่ใกล้ชิดกับลูกๆของพวกเขา) 1.แยกออกมาจากลูกๆของพวกเขา
2. อยู่ห่างจากลูกๆของพวกเขา 4.แยกออกมาจากลูกๆของพวกเขา

One of the most famous houses in United is Monticello. It was the home of Thomas Jefferson , the third president of the United States. Located on a hill near Charlottesville, Virginia, it has a beautiful view of the surrounding countryside. The house is famous ,first of all, because it belonged to a president. It is also a fine example of early nineteenth-century American architecture. Jefferson designed it himself in a style he had admired in Italy. Many American building of that time, in fact, imitated European styles. But while most were just imitations, his Monticello is lovely in itself. Furthermore, the design combines a graceful style with a typical American concern for comfort and function.

หนึ่งในบรรดาบ้านที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในสหรัฐอเมริกาคือ บ้านมอนติเซลโล ซึ่งเป็นบ้านของโทมัส เจฟเฟอสัน ประธานาธิบดีคนที่ 3 ของสหรัฐอเมริกา โดยตั้งอยู่บนเนินเขาใกล้กับเมืองชาร์ลลอตส์วิลล์ในมลรัฐเวอร์จีเนีย ซึ่งมีทัศนียภาพของชานเมืองรอบ ๆ ที่สวยงามมาก ประการแรกที่ทำให้บ้านมีชื่อเสียง เพราะมันเป็นของประธานาธิบดี นอกจากนี้ยังเป็นตัวอย่างที่ดีของสถาปัตยกรรมอเมริกันในช่วงต้นศตวรรษที่ 19 อีกด้วย เจฟเฟอสันได้ออกแบบบ้านด้วยตัวเองของเขาเองตามสไตล์ที่เขาชื่นชอบในอิตาลีแท้ที่จริงแล้ว สิ่งก่อสร้างหลายแห่งของอเมริกันในช่วงเวลานั้นลอกเลียนแบบมาจากสไตล์ยุโรป ในขณะที่สิ่งก่อสร้างส่วนใหญ่เป็นแค่เพียงการลอกเลียนแบบ แต่มอนติเซลโลของเขาเป็นสิ่งที่ดูสวยด้วยตัวของมันเองยิ่งไปกว่านั้นการออกแบบได้ผสมผสานรูปแบบที่อ่อนช้อยเข้ากับแบบฉบับสไตล์อเมริกัน ที่ให้ความสำคัญในเรื่องความสะดวกสบายและการใช้งาน

6. Which is the best topic for the above passage ?
(1) Famous Houses in United States
(2) American Architecture
(3) The View from Monticello
(4) Reasons for Monticello’s Fame
ถาม หัวเรื่องที่ดีที่สุดสำหรับเนื้อเรื่องข้างต้นนี้คือข้อใด
ตอบ 4 (เหตุผลสำหรับความมีชื่อเสียงของมอนติเซลโล)
1.บ้านที่มีชื่อเสียงในสหรัฐอเมริกา
2.สถาปัตยกรรมอเมริกา
3. ทิวทัศน์จากมอนติเชลโล

7. Where is Thomas Jefferson house located ?
(1) Monticello
(2) Virginia
(3) Charlottesville
(4) Europe
ถาม บ้านของโทมัส เจฟเฟอสัน ตั้งอยู่ที่ไหน
ตอบ 2 (มลรัฐเวอร์จิเนีย) 1. มอนติเชลโล 3. ชาร์ลลอตส์วิลล์ 4. ยุโรป

8. Where is the design of Thomas Jefferson’s house from ?
(1) American
(2) Europe
(3) Italy
(4) United State
ถาม การออกแบบบ้านของโทมัส เจฟเฟอสัน มีที่มาจากที่ใด
ตอบ 3 (อิตาลี) 1.อเมริกา 2. ยุโรป 4. สหรัฐอเมริกา

9. What is the phrase “imitated European styles ”meaning ?
(1) the same as European style
(2) different from European style
(3) copy the European style
(4) looked like European style
ถาม วลีที่ว่า “imitated European style”ลอกเลียนแบบมาจากสไตล์ยุโรป) หมายถึงอะไร
ตอบ 3 (ลอกเลียนแบบมาจากสไตล์ยุโรป) 1. เหมือนกับสไตล์ยุโรป
2.แตกต่างจากสไตล์ยุโรป 4. ดูเหมือนกับสไตล์ยุโรป

10. The word “American concern” means____________
(1) American style
(2) American house
(3) American instinct
(4) American ways
ถาม คำว่า “American concern”(สไตล์อเมริกัน) หมายถึง ________
ตอบ 1 (สไตล์อเมริกัน)
2. บ้านแบบอเมริกัน
3.สัญชาตญาณแบบอเมริกัน
4. วิธีแบบอเมริกัน

Market leader usually want to increase their market share even further, or at least to protect their current market share. One way to do this is to try to find ways to increase the size of the entire market.Contrary to a common bellef, wholly dominating a market, or having a monopoly, is seldom an advantage : competitors expand markets and find new uses and users for products, which enriches everyone in the field, but the market leader more than its competitors. A market can also be expanded by stimulating more usage : for example, many households no longer have only one radio or cassette player, but perhaps one in each room, one in the car, plus a minidisc player or a walkman or two.

ผู้นำตลาดมักต้องการเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาดให้มากขึ้นไปเรื่อย ๆ หรืออย่างน้อยที่สุดก็จะต้องปกป้องส่วนแบ่งทางการตลาดในปัจจุบันของพวกเขาเอาไว้ วิธีหนึ่งที่ถูกนำมาใช้คือ พยายามหาวิธีที่จะเพิ่มขนาดของตลาดรวมให้มากขึ้น ในทางตรงกันข้ามกับความเชื่อเดิม ๆ ก็คือ การครอบงำตลาดทั้งหมด หรือมีการผูกขาดนั้นแทบจะไม่เกิดผลดี กล่าวคือ คู่แข่งขันจะขยายตลาด รวมทั้งหาวิธีใช้และผู้ใช้สินค้าหน้าใหม่ ๆ ซึ่งทำให้ทุกคนที่เกี่ยวข้องร่ำรวยขึ้น แต่ผู้นำตลาดจะมีคู่แข่งขันมากขึ้น นอกจากนี้ตลาดยังสามารถขยายออกไปได้ด้วยการกระตุ้นให้มีการใช้สินค้ามากขึ้น ตัวอย่างเช่น หลาย ๆ ครัวเรือนจะไม่มีวิทยุหรือเครื่องเล่นเทปเพียงเครื่องเดียวอีกต่อไป แต่บางทีอาจมีเครื่องหนึ่งในห้องแต่ละห้อง หรือมีอยู่เครื่องหนึ่งในรถยนต์ แถมยังมีเครื่องเล่นมินิดิสก์หรือเครื่องวอล์แมนหนึ่งหรือสองเครื่องก็ได้

11. Which is the best topic for the above passage ?
(1) Market Share Protection
(2) Market Share Deduction
(3) Market Share Decreasing
(4) Market Share Expansion
ถาม หัวเรื่องที่ดีที่สุดสำหรับเนื้อเรื่องข้างต้นนี้คือข้อใด
ตอบ 4 (การขยายส่วนแบ่งทางการตลาด) 1. การปกป้องส่วนแบ่งทางการตลาด
2. การลดส่วนแบ่งทางการตลาด 3. การลดลงของส่วนแบ่งทางการตลาด

12. Which is the proper way in increasing market share ?
(1) stimulating more usage
(2) Dominating a market
(3) increasing the size
(4) market share at present
ถาม ข้อใดเป็นวิธีการที่เหมาะสมในการเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาด
ตอบ 3 (เพิ่มขนาดของตลาด) 1. การกระตุ้นให้มีการใช้มากขึ้น
2. การครอบงำตลาด 4. หาผู้ใช้รายใหม่

13. What is the meaning of the word “current market share” in line 2 ?
(1) new market share
(2) future market share
(3) money of the share
(4) market share at present
ถาม ความหมายของคำว่า “current market share”(ส่วนแบ่งทางการตลาดในปัจจุบัน)ในบรรทัดที่ 2 หมายถึงอะไร
ตอบ 4 (ส่วนแบ่งทางการตลาดในปัจจุบัน) 1.ส่วนแบ่งทางการตลาดใหม่
2. ส่วนแบ่งทางการตลาดในอนาคต 3. เงินส่วนแบ่ง

14. What is the meaning of the word “even further” in line 1 ?
(1) not further
(2) not much
(3)more and more
(4) more than enough
ถาม ความหมายของคำว่า “even further”(ต่อไปเรื่อยๆ) ในบรรทัดที่ 1 หมายถึงอะไร
ตอบ 3 (มากขึ้นเรื่อย ๆ ) 1. ไม่คืบหน้า 2. ไม่มาก 4. มากเกินพอ

15. What is the meaning of the word “entire market” in line 3 ?
(1) some market
(2) one maeket
(3) big market
(4) the whole market
ถาม ความหมายของคำว่า “entire market”(ตลาดรวม) ในบรรทัดที่ 3 หมายถึงอะไร
ตอบ 4 (ตลาดทั้งหมด) 1. บางตลาด 2. ตลาดเดียว 3.ตลาดใหญ่

16. What is the meaning of the phrase “contrary to common belief” in line 3 ?
(1) opposite to general belief
(2) same as general belief
(3) all belief
(4) no one belief
ถาม ความหมายของวลีที่ว่า “contrary to common belief”(ในทางตรงกันข้ามกับความเชื่อ
เดิม ๆ )ในบรรทัดที่ 3 หมายถึงอะไร
ตอบ 1 (ตรงข้ามกับความเชื่อโดยทั่ว ๆ ไป) 2. เหมือนกับความเชื่อโดยทั่ว ๆ ไป
3. ความเชื่อทั้งหมด 4. ไม่ได้มีความเชื่อเดียว

17. What is the meaning of the word “seldom an advantage” in line 4 ?
(1) less advantage
(2) rarely advantage
(3) no advantage
(4) more advantage
ถาม ความหมายของคำว่า “seldom an advantage”(แทบจะไม่มีข้อดี)ในบรรทัดที่ 4 หมายถึงอะไร
ตอบ 2 (ไม่ค่อยมีข้อดี) 1.ข้อดีน้อยกว่า 3. ไม่มีข้อดี 4. ข้อดีมากกว่า

18. What is the meaning of the word “enriches everyone” in line 5 ?
(1) stimulate someone
(2) stimulate them all
(3) tell everyone
(4) everyone richer
ถาม ความหมายของคำว่า “enriches everyone”(ทำให้ทุกคนร่ำรวยขึ้น)ในบรรทัดที่ 5 หมายถึงอะไร
ตอบ 4 (ทุกคนรวยขึ้น) 1. กระตุ้นบางคน 2. กระตุ้นทุกคน 3. บอกทุกคน

19. What is the meaning of the word “households on longer have” in line 7 ?
(1) home no more have
(2) have no more house
(3) have no long house
(4) no longer house
ถาม ความหมายของคำว่า“households on longer have” (หลาย ๆ ครัวเรือนไม่มี….อีกต่อไป)ใน
บรรทัดที่ 7 หมายถึงอะไร
ตอบ 1 (ครัวเรือนไม่ได้มีแค่นี้ :home และ households มีความหมายเหมือนกันคือ ครัวเรือน ครอบครัว หรือบ้านที่มีคนอาศัยอยู่ด้วยกัน ส่วน house หมายถึง บ้านที่เป็นตัวอาคาร)

20. What is the evidence of passage given to support the idea of increasing market share ?
(1) monopoly
(2) protect the share
(3) dominating a market
(4) stimulating more usage
ถาม ข้อพิสูจน์ในเนื้อเรื่องที่ถูกยกขึ้นมาสนับสนุนความคิดของการเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาดคืออะไร
ตอบ 4 (การกระตุ้นให้มีการใช้มากขึ้น)
1. การผูกขาด
2. ปกป้องส่วนแบ่ง
3. การครอบงำตลาด

Today’s successful companies—whether large or small, for profit or nonprofit, domestic or global—share a strong customer focus and a heavy commitment to marketing. Many people think of marketing as only selling or advertising. But marketing combines many ativities—marketing research, product development, pricing advertising, personal selling, and other—designed to sense, serve, and satisfy customer needs while meeting the organization’s goals. Marketing seeks to attract new customers by promising superior value and to keep and grow current customers by delivering satisfaction.

บรรดาบริษัทที่ประสบความสำเร็จในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นบริษัทขนาดใหญ่หรือขนาดเล็ก เป็นบริษัทที่แสวงหากำไรหรือไม่แสวงหากำไร เป็นบริษัทภายในประเทศหรือระหว่างประเทศก็ตาม ต่างก็ใช้การมุ่งหน้าไปที่ลูกค้าที่แข็งแกร่งและมีพันธะสัญญาที่หนักแน่นในการทำการตลาด ผู้คนมากมายมักคิดว่าการตลาดเป็นเพียงการขายหรือการโฆษณาเท่านั้น แต่การตลาดจะผสมผสานกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การวิจัย การตลาด การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การกำหนดราคา การโฆษณา การขายโดยบุคคล และอื่น ๆ ซึ่งถูกออกแบบขึนมาเพื่อทำให้เกิดความรู้สึก ให้บริการ และตอบสนองความจำเป็นของลูกค้า ในขณะเดียวกันก็เพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์การด้วย การตลาดจพค้นหาเพื่อดึงดูดลูกค้าใหม่ ๆ โดยให้คำมั่นสัญญาถึงคุณค่าที่ดีกว่า รวมทั้งเพื่อรักษาและเพิ่มลูกค้าปัจจุบัน โดยทำให้เกิดความพึงพอใจ

21. The best title of the paragraph is :
(1) The Ultimate Goals of Marketing
(2) Discussing Target Customer
(3) Review Marketing Concepts
(4) Selling and Advertising
ถาม ชื่อเรื่องที่ดีที่สุดของย่อหน้านี้คือ
ตอบ 3 (คำวิจารณ์เกี่ยวกับแนวคิดทางการตลาด) 1.เป้าหมายสุดท้ายของการตลาด
2. การอภิปรายในเรื่องลูกค้าเป้าหมาย 4.การขายและการโฆษณา

22.What is the meaning of the word “households no longer have” in line 7?
(1) The most importance techniques are selling and advertising.
(2) The company needs lots of advertising to attract new customers.
(3) Lower price can appeal more customers.
(4) The company should focus on customers’ satisfaction as priority.
ถาม หลังจากที่อ่านย่อหน้านี้ ผู้เขียนได้ให้คำแนะนำในเรื่องใดต่อบริษัทที่ประสบความสำเร็จ
ตอบ 4 (บริษัทควรมุ่งเน้นไปที่ความพึงพอใจของลูกค้าเป็นสิ่งสำคัญอันดับแรก)
1.เทคนิคที่สำคัญที่สุด คือ การขายและการโฆษณา
2.บริษัทจำเป็นต้องโฆษณามากๆเพื่อดึงดูดลูกค้าใหม่ๆ
3.ราคาที่ถูกลงสามารถดึงดูดลูกค้าได้มากขึ้น

23. In the 2nd line, “domestic or global” refers to ________
(1) marketing
(2) customers
(3) companies
(4) people
ถาม ในบรรทัดที่ 2 คำว่า “domestic or global” (ภายในประเทศหรือระหว่างประเทศ) อ้างอิงถึง________
ตอบ 3 (บริษัทต่างๆ) 1.การตลาด 2.ลูกค้า 4.ผู้คน

24. Where this the paragraph should likely publish in?
(1) novel
(2) textbook
(3) newspapers
(4) brochure
ถาม ย่อหน้าดังกล่าวนี้ควรตีพิมพ์ในที่ใด
ตอบ 2 (ตำราเรียน) 1.นวนิยาย 3.หนังสือพิมพ์ 4.โบรชัวร์

25. What commitment should have similar meaning to?
(1) satisfy
(2) promise
(3) refuse
(4) decline
ถาม คำว่า “commitment” (พันธะสัญญา) ควรมีความหมายเหมือนข้อใด
ตอบ 2 (ข้อสัญญา) 1.ตอบสนอง 3.ปฏิเสธ 4.ถดถอย,ลดลง

26. Others in line 5 replies to whom/what?
(1) activeties
(2) customers needs
(3) new customers
(4) many people
ถาม คำว่า “others” (อื่นๆ) ในบรรทัดที่ 5 อ้างถึงใครหรืออะไร
ตอบ 1 (กิจกรรมต่างๆ) 2.ความจำเป็นของลูกค้า 3.ลูกค้าใหม่ 4.ผู้คนมากมาย

27. The word “current customers” in line 7 refers to ________.
(1) more customers
(2) old customers
(3) new customers
(4) bad customers
ถาม คำว่า “current customers” (ลูกค้าปัจจุบัน) ในบรรทัดที่ 7 อ้างถึง_________
ตอบ 2 (ลูกค้าเก่า) 1.ลูกค้าที่มากขึ้น 3.ลูกค้าใหม่ 4.ลูกค้าที่แย่ๆ

28.What is the meaning of the word “delivering satisfaction”?
(1) make customers satisfy
(2) send satisfy product
(3) offer new product
(4) advertise all products
ถาม ความหมายของคำว่า “delivering satisfaction” (ทำให้เกิดความพึงพอใจ) หมายถึงอะไร
ตอบ 1 (ทำให้ลูกค้าพึงพอใจ) 2.จัดส่งผลิตภัณฑ์ที่น่าพอใจ
3.เสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ให้ 4.โฆษณาผลิตภัณฑ์ทั้งหมด

29. Which statement is true?
(1) Only large company shares a heavy commitment to marketing.
(2) Non-profit organization has nothing to deal with Marketing .
(3) Global company has more commitment to marketing than domestic one.
(4) All companies wishing to success have heavy commitment to marketing.
ถาม ข้อความใดที่ถูกต้อง
ตอบ 4 (บริษัททั้งหมดที่ต้องการประสบความสำเร็จจะมีพันธะสัญญาที่หนักแน่นในการทำการตลาด)
1.บริษัทใหญ่เท่านั้นที่มีพันธะสัญญาที่หนักแน่นต่อการทำการตลาด
2.องค์การที่ไม่แสวงหากำไรไม่มีอะไรที่เกี่ยวข้องกับการตลาด
3.บริษัทระหว่างประเทศมีพันธะสัญญาต่อการตลาดมากกว่าบริษัทภายในประเทศ

30. What is the word “meeting” in line 6 means?
(1) see
(2) conference
(3) found
(4) serve
ถาม คำว่า “meeting” (บรรลุ) ในบรรทัดที่ 6 หมายถึง อะไร
ตอบ 4 (serve = satisfy = เป็นไปตามตอบสนอง)
1.มองเห็น
2.ประชุม
3.ก่อตั้ง,สร้าง

The yew tree grows very slowly and can live for hundreds of years. In southern England one year. a terrible storm blew down many tall, old yew trees. Some of these beautiful trees were more than 300 years old. New yew trees have been planted, but they will…

ต้นยิว (Yew tree) จะเติบโตอย่างช้าๆ และสามารถมีชีวิตอยู่ ได้นานหลายร้อยปี อยู่มาปีหนึ่งในทางตอนใต้ของอังกฤษ ลมพายุที่น่าสะพรึงกลัวได้พัดโค่นต้นยิวสูงๆและมีอายุเก่าแก่ล้มลงเป็นจำนวนมาก ต้นยิวบางต้นที่สวยๆมีอายุมากกว่า 300 ปี ต้นยิวต้นใหม่ได้ถูกปลูกไปแล้ว แต่พวกมันคงจะ…..

31. New yew trees have been planted , but they will…
(1) grow more quickly.
(2) only live for a few years.
(3) be tall and beautiful only after many years.
(4) never be a beautiful as the old trees.
ถาม ต้นยิวต้นใหม่ได้ถูกปลูกไปแล้ว แต่พวกมันคงจะ…
ตอบ 4 (ไม่มีทางสวยเท่ากับต้นยิวต้นเดิมได้) 1.เติบโตได้เร็วขึ้น
2.มีชีวิตอยู่ได้เพียงไม่กี่ปีเท่านั้น 3.สูงและสวยงามเพียงแค่ใช้เวลาหลายๆปี

32. When was the terrible storm blow down in southern England?
(1) Last year
(2) 300 years ago
(3) hundreds years ago
(4) did not mentioned.
ถาม ลมพายุที่น่าสะพรึงกลัวซึ่งได้พัดโค่นต้นยิวในทางตอนใต้ของอังกฤษเกิดขึ้นเมื่อใด
ตอบ 4 (เนื้อเรื่องไม่ได้กล่าวถึง) 1. เมื่อปีที่แล้ว 2. 300 ปีมาแล้ว 3. หลายร้อยปีที่ผ่านมา

33. How long this yew tree life-long?
(1) one year
(2) 300 years
(3) some hundreds years
(4) depends
ถาม ต้นยิวมีอายุยืนยาวนานเท่าไร
ตอบ 3 (หลายร้อยปี) 1.1 ปี 2.300 ปี 4.สุดแล้วแต่

34.The word “blew down” has the same meaning as….
(1) cut down
(2) killed
(3) lay down
(4) damaged
ถาม คำว่า “ blew down” (พัดโค่นจนล้ม) มีความหมายเหมือนกับ
ตอบ 1 (ตัดจนล้มลง,ทำให้ล้มลง) 2.ฆ่า
3.กำหนด,วางกฎ 4.ทำให้เสียหาย

35.The word “terrible storm” means__________
(1) long time storm
(2) short time storm
(3) heavy storm
(4) windy
ถาม คำว่า “terrible storm” (ลมพายุที่น่าสะพรึงกลัว) หมายถึง ________
ตอบ 3 (ลมพายุที่พัดโหมกระหน่ำ) 1.ลมพายุที่ยาวนาน
2.ลมพายุที่เกิดขึ้นในช่วงสั้น 4.ลมแรง

Complete the following statements
จงเติมคำเพื่อทำให้ข้อความต่อไปนี้สมบูรณ์
Alternative for question number 36-39

(1) whereas
(2) calm
(3) quite
(4) talks
Although Maria and Anna are sisters,their personalities are 36 differrent. Maria 37 a lot 38 Anna is usually 39
ถึงแม้ว่ามาเรียและแอนนาจะเป็นพี่น้องกัน แต่บุคลิกของพวกเธอ 36 (3) ค่อนข้างแตกต่างกัน มาเรียนั้นช่าง 37 (4) พูด 38 (1) ในขณะที่แอนนามัก 39 (2) เงียบขรึมอยู่เสมอ

36.ตอบ 3 (ค่อนข้าง

37.ตอบ 4 (พูด)

38.ตอบ 1 (ในขณะที่)

39.ตอบ 2 (เงียบขรึม)

Alternative for question number 40-43
(1) in
(2) but
(3) an
(4) very
Two men were 40 a sailboat floating near 41 island . The wind had been 42 strong that morning 43 now there was just a slight breeze.
ผู้ชาย 2 คนที่อยู่ 40 (1) ในเรือใบขนาดเล็กซึ่งลอยลำอยู่ใกล้ๆเกาะ 41 (3) แห่งหนึ่งในช่วงเช้านั้นมีกระแสลมที่พัดรุนแรง 42 (4) อย่างมาก 43 (2) แต่ในตอนนี้เพิ่งจะมีลมอ่อนๆพัดเข้ามาเพียงเล็กน้อย
40.ตอบ 1 (ใน)
41.ตอบ 3 (แห่งหนึ่ง)

42.ตอบ 4 (อย่างมาก)

43.ตอบ 2 (แต่)

Alternative for question number 44-47.
(1) however
(2) which
(3) that
(4) because
One advers situation___44____arises__45___ of the presence of mold is good spoilage____46__ penicillin,___47__ is a mold. Is a beneficial antibiotic.
เหตุการณ์ที่ขัดแย้งกันเหตุการณ์หนึ่ง 44 (3) ที่เกิดขึ้น 45 (4) เนื่องจากมีการเปิดเผยว่าเชื้อราเป็นตัวที่ทำให้อาหารเน่าเสีย 46 (1) อย่างไรก็ตาม เพนิซิลิน 47 (2) ซึ่งเป็นราชนิดหนึ่งกลับเป็นยาปฏิชีวนะที่มีประโยชน์

44.ตอบ 3 (ที่)

45.ตอบ 4 (because of + n. = เนื่องจาก)

46.ตอบ 1 (อย่างไรก็ตาม)

47.ตอบ 2 (ซึ่ง)

Part of speech (ชนิดของคำ)
Which of the following chart are true and which are false?
จากตารางต่อไปนี้จงพิจารณาว่าข้อใดถูกและข้อใดผิด
If true paints 1 If false paint 2
ถ้าถูกให้ระบายตัวเลือกที่ 1 ถ้าผิดให้ระบายตัวเลือกที่ 2
No Noun Verb Adjective Adverb
48 promotion To promote promotional –
49 manufacture To manufacture manufactured –
50 valuation To Value – Valuable

48.ตอบ 1 (ถูก)
49.ตอบ 2 (ผิด) ที่ถูกต้องคือ manufacture/ manufacturer/ manufacturing(n.)/ to manufacture (v.) และ manufacturing (adj.)
50.ตอบ 2 (ผิด) ที่ถูกต้องคือ valuation / value (n.)/ to value (v.) / valuable (adj.)
Which word in each group does not belong? (คำใดในแต่ละกลุ่มที่ไม่เข้าพวก)

51. (1) slogan
(2) discount
(3) free sample
(4) special offer
ตอบ 1 (คำขวัญ)
2.ส่วนลด
3.ตัวอย่างสินค้าแจกฟรี
4.ข้อเสนอพิเศษ

52. (1) retailer
(2) wholesaler
(3) distributor
(4) manufacturer
ตอบ 4 (ผู้ผลิต)
1.ผู้ค้าปลีก
2.ผู้ค้าส่ง
3.ผู้จัดจำหน่าย

53. (1) island
(2) sea
(3) beach
(4) mountain
ตอบ 4 (ภูเขา)
1.เกาะ
2.ทะเล
3.ชายหาด

Word Partnership (คำที่ต้องใช้คู่กัน)
Which word in each group does not form a word partnership with the given word?
คำใดในแต่ละกลุ่มที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบของคำที่ต้องใช้คู่กันกับคำที่ให้มา

54. inform
(1) truth
(2) statistic
(3) logo
(4)situation
ถาม แจ้งให้ทราบ,บอก,รายงาน
ตอบ 3 (โลโก้สินค้า:Logo มักใช้คู่กับคำว่า show นั่นคือ show logo = แสดงโลโก้สินค้า)
1.inform truth = บอกความจริง
2.inform statistic = รายงานตัวเลขทางสถิติ
3.inform situation = รายงานสถานการณ์

55. elect
(1) epresentative
(2) chairman
(3) member
(4) captain
ถาม เลือก,คัดเลือก
ตอบ 4 (ตำแหน่งผู้บังคับการเรือ:Captain เป็นชื่อยศตำแหน่ง ดังนั้นจึงมักใช้คู่กับคำว่า appoint (แต่งตั้ง) เช่น appoint
captain = แต่งตั้งผู้บังคับการเรือ)
1.elect representative = เลือกผู้แทน
2.elect chairman = เลือกประธานกรรมการ
3.elect member = เลือกสมาชิก

56. carry
(1) problem
(2) basket
(3) book
(4)chair
ถาม หิ้ว,ถือ,ยก
ตอบ 1 (ปัญหา)
2..carry basket = หิ้วตะกร้า
3.carry book = ถือหนังสือ
4.carry chair = ยกเก้าอี้

57. develop
(1) report
(2) menu
(3) project
(4)film
ถาม พัฒนา,ขยาย
ตอบ 1 (รายงาน)
2.develop menu = ขยายรายการ
3.develop project = ขยายโครงการ
4.develop film = พัฒนาภาพยนตร์

58. give
(1) way
(2) friend
(3) expertise
(4) loyalty
ถาม ให้,มอบให้,
ตอบ 2 (เพื่อน: คำว่า give friend มี friend เป็นกรรมรอง ดังนั้นคำว่า give friend จะต้องมีกรรมตรงต่อท้ายอีก เช่น
give friend some money = ให้เงินแก่เพื่อน)
1.give way = หลีกทาง,ยอม
3.give expertise = ทำให้มีความรู้ความชำนาญ
4.give loyalty = ให้ความจงรักภักดี
Matching Word with definition (จงจับคู่คำกับความหมายของมัน)

59. Product which made by tribal people.
(1) local product
(2) new product
(3)re-launch product
(4) damaged product
ถาม สินค้าที่ผลิตโดยคนในท้องถิ่น
ตอบ 1 (สินค้าที่ผลิตภายในประเทศ) 2.สินค้าตัวใหม่ 3.สินค้าที่ถูกนำเข้ามาในตลาดอีกครั้ง 4.สินค้าที่เสียหาย

60. People who came to use and pay for our services.
(1) client
(2) patient
(3) customer
(4) consumer
ถาม ผู้คนที่เข้ามาใช้และชำระเงินสำหรับการให้บริการของเรา
ตอบ 1 (ลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการ) 2.ผู้ป่วย 3.ลูกค้าที่ซื้อสินค้า 4.ผู้บริโภค

61. imitation
(1) artificial
(2) immigration
(3)copy the original
(4) replace the original
ถาม การลอกเลียนแบบ
ตอบ 3 (ลอกเลียนแบบจากของเดิม)
1.ของเทียม
2.การอพยพเข้าเมือง
4.ทดแทนของเดิมที่มีอยู่

62. Personal belonging
(1) personal property
(2) personal income
(3)personal expenses
(4) personal secret
ถาม สิ่งของหรือทรัพย์สินส่วนบุคคล
ตอบ 1 (สมบัติส่วนตัว) 2.รายได้ส่วนบุคคล 3.รายจ่ายส่วนตัว 4.ความลับส่วนตัว

63. bi- decade
(1) 200 years
(2) 20 years
(3) 100 years
(4) 2 years
ถาม สองทศวรรษ
ตอบ 2 (20 ปี : 1 ทศวรรษ (a decade) เท่ากับ 10 ปี เมื่อเติม prefix คือ bi- ซึ่งหมายถึง สองเข้าไป ดังนั้น bi-decade
จึงเท่ากับ 20 ปี) 1. 200 ปี 3. 100 ปี 4. 2 ปี

64. violently
(1) politely
(2) steadily
(3)silently
(4) aggressively
ถาม อย่างก้าวร้าว,อย่างรุนแรง
ตอบ 4 (อย่างก้าวร้าว,อย่างรุนแรง) 1.อย่างสุภาพ 2.อย่างสม่ำเสมอ 3.อย่างเงียบๆ

65. small changes
(1) bank notes
(2) coins
(3) no changes
(4) a little different
ถาม เศษเหรียญ
ตอบ 2 (เหรียญ:คำว่า small change = coins of low value หมายถึง เงินเหรียญที่มีค่าต่ำหรือเศษเหรียญ)
1.ธนบัตร 3.ไม่มีเงินทอน 4.มีความแตกต่างเล็กน้อย

66. currency
(1) money
(2) notes
(3)changes
(4) coin
ถาม เงินตรา
ตอบ 1 (เงิน) 2.ธนบัตร 3.เงินทอน 4.เหรียญ

67. attempt to
(1) want to
(2) need to
(3) try to
(4) forward to
ถาม พยายามที่จะ
ตอบ 3 (พยายามที่จะ) 1.ต้องการที่จะ 3.จำเป็นที่จะ 4.ไปข้างหน้า

68. entire
(1) retire
(2) a part
(3)some part
(4) wholly
ถาม ทั้งหมด
ตอบ 4 (ทั้งหมด,โดยรวม) 1.เกษียณอายุ 2.ส่วนหนึ่ง 4.บางส่วน

69. seldom
(1) rarely
(2) frequent
(3) often
(4) always
ถาม ไม่ค่อยจะ,แทบจะไม่
ตอบ 1 (นานๆที,แทบจะไม่) 2.บ่อยๆ 3.บ่อยครั้ง 4.สม่ำเสมอ

70. firm
(1) fit
(2) lean
(3) company
(4) department
ถาม บริษัท,กิจการ
ตอบ 3 (บริษัท) 1.เหมาะสม,พอดี 2.พักพิง,อาศัย 4.แผนก,ฝ่าย
General Business Terms Practice (คำศัพท์ทางธุรกิจโดยทั่วไป)
Directions: Complete the following sentences with the words provided.
คำสั่ง: จงทำให้ประโยคต่อไปนี้สมบูรณ์ด้วยการเติมคำที่ให้ไว้

Alternative for question number 71 – 73.
(1) term of payment
(2) operations
(3) deal
(4) options

71.The marketing department could not deliver the products to their customers on time due to the company’s
bad ______
ถาม ฝ่ายการตลาดไม่สามารถส่งมอบสินค้าให้ลูกค้าของตนได้ทันเวลา เนื่องจาก (2) การดำเนินงานที่แย่ของบริษัท
ตอบ 2 (การดำเนินงาน)

72.Many busness did not run only by cash or cradits, sometime it run by business_________.
ถาม ธุรกิจหลายแห่งไม่ได้ดำเนินงานด้วยเงินสดหรือเครดิตเท่านั้น บางทีบริษัทก็ดำเนินงานด้วย
(3) การตกลงทางธุรกิจ
ตอบ 3 (การตกลง)

73.The sales manager try to source the price out in order to make the customers buy their products by extending
the___________.
ถาม ผู้จัดการฝ่ายขายพยายามหาที่มาของสินค้าที่มีราคาแพงเกินไป เพื่อทำให้ลูกค้าซื้อสินค้าที่พวกเขาต้องการได้
ด้วยการขยาย (1) เงื่อนไขการชำระเงินออกไป
ตอบ 1 (เงื่อนไขการชำระเงิน)

Alternative for question number 74 – 76.
(1) pension
(2) license
(3) Managing Director
(4) salesman

74.__________is the person who offer the customer the products or services.
ถาม (4) พนักงานขาย คือ บุคคลที่นำเสนอสินค้าหรือบริการให้แก่ลูกค้า
ตอบ 4 (พนักงานขาย)

75.___________has an authority in directing the company’s operations.
ถาม (3) กรรมการผู้จัดการ มีอำนาจหน้าที่ในการสั่งการเรื่องการดำเนินงานของบริษัท
ตอบ 3 (กรรมการผู้จัดการ)

76.The retired employees survived by their_________.
ถาม บรรดาลูกจ้างที่เกษียณอายุแล้วจะดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วย (1) เงินบำนาญของพวกเขาเอง
ตอบ 1 (เงินบำนาญ)
Alternatives for question number 77 – 80
(1) label
(2) headquarter
(3) display
(4) delivery

77.The way to motivate the consumer to buy the product is to ________them.
ถาม วิธีการที่จะกระตุ้นให้ลูกค้าซื้อสินค้าก็คือ (3) จัดแสดงสินค้าให้ลูกค้าดู
ตอบ 3 (จัดแสดง)

78.Nowadays,most of the fast food companies compete by developing their________methods.
ถาม ในปัจจุบันบริษัทที่ขายอาหารฟาสต์ฟู้ดส่วนใหญ่แข่งขันกันโดยการพัฒนาวิธี (4) การจัดส่งสินค้าของตนเอง
ตอบ 4 (การจัดส่ง)

79.In some situations,the branches can not approve the cases, they must consult the_________.
ถาม ในบางสถานการณ์ สาขาย่อยต่างๆไม่สามารถอนุมัติเรื่องต่างๆของลูกค้าได้ โดยสาขาย่อยจะต้องปรึกษา (2) สำนักงานใหญ่ก่อน
ตอบ 2 (สำนักงานใหญ่)

80.Most companies designed their logo to be the __________of the company.
ถาม บริษัทส่วนใหญ่ออกแบบโลโก้ของตนเองให้เป็น (1) ฉลากสินค้าของบริษัท
ตอบ 1 ฉลาก

APR2101 สารสนเทศและการสื่อสารทางธุรกิจ ภาค 2 ปีการศึกษา 2553

การสอบไล่ภาค 2 ปีการศึกษา 2553
ข้อสอบกระบวนวิชา APR2101 สารสนเทศและการสื่อสารทางธุรกิจ
คำสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดพียงคำตอบเดียว (ข้อสอบมีทั้งหมด 80 ข้อ)

Reading Comprehension (การอ่านเพื่อความเข้าใจ)

Scotland is famous for its golf courses, and many Scottish people think of golf as a truly Scottish sport. The game did not start in Scotland, however, it was first played in Holland in the fourteenth century and only later.

สกอตแลนด์มีชื่อเสียงในเรื่องหลักสูตรการเล่นกอล์ฟ และชาวสกอตจำนวนมากคิดว่ากอล์ฟเป็นเหมือนกีฬาของชาวสกอตอย่างแท้จริง อย่างไรก็ตาม การเล่นกอล์ฟไม่ได้เริ่มต้นในประเทศสกอตแลนด์ มันได้เล่นเป็นครั้งแรกในประเทศฮอลแลนด์ในศตวรรษที่ 14 และต่อมา

1. did it become____________
(1) popular with the Dutch
(2) popular in Scotland
(3) a real sport
(4) an Olympic sport
ถาม มันกลายเป็น____________
ตอบ 2 (กีฬาที่ได้รับความนิยมในประเทศสกอตแลนด์เท่านั้น)
1. เป็นที่นิยมของชาวดัตช์ 3. กีฬาที่แท้จริง 4. กีฬาโอลิมปิก

2. fourteenth century mean_______
(1) 14th decade
(2) year 1301-1400
(3) year 1401-1500
(4) 1 & 3 are correct
ถาม ศตวรรษที่ 14 หมายถึง________
ตอบ 2 (ช่วงปี 1301 – 1400)
1. 14 ทศวรรษ
3. ช่วงปีที่ 1401 – 1500
4. ข้อ 1 และ 3 ถูกต้อง

3. Which statement is true ?
(1) Golf first played in Holland in 1405.
(2) Scotland has many golf courses.
(3) Golf is a famous sport for Scottish.
(4) Golf course is popular in Holland.
ถาม ข้อความใดที่ถูกต้อง
ตอบ 3 (กอล์ฟเป็นกีฬาที่มีชื่อเสียงสำหรับชาวสกอตแลนด์)
1. กีฬากอล์ฟเล่นเป็นครั้งแรกในประเทศฮอลแลนด์ในปี 1405
2. ประเทศสกอตแลนด์มีหลักสูตรการเล่นกอล์ฟจำนวนมาก
3. หลักสูตรการเล่นกอล์ฟได้รับความนิยมในประเทศฮอลแลนด์

4. The word “famous for” means________
(1) popular
(2) old for
(3) called
(4) well known as
ถาม คำว่า “famous for” (มีชื่อเสียง) หมายถึง ______
ตอบ 4 (well known as หมายถึง เป็นที่รู้จักกันดี)
1. ได้รับความนิยม 2. เก่าแก่สำหรับ 3. เรียก

5. “truly…sport” means_______
(1) popular sport
(2) unique sport
(3) old sport
(4) ancient sport
ถาม “truly…sport” (กีฬา…โดยแท้จริง) หมายถึง______
ตอบ 2 (กีฬาเพียงหนึ่งเดียว) 1. กีฬาที่ได้รับความนิยม
3.กีฬาในยุคเก่า 4. กีฬาในสมัยโบราณ

The dog was the first domesticated animal. Very early in human history, people realized that a dog could help with hunting and could protect them against dangerous wild animals. They also realized that dogs were good company, and so they began to keep them as pets.

สุนัขเป็นสัตว์ที่ถูกนำมาเลี้ยงให้เชื่องเป็นประเภทแรก ในยุคแรก ๆ ของประวัติศาสตร์มนุษย์ผู้คนตระหนักว่าสุนัขสามารถช่วยในการล่าสัตว์และสามารถปกป้องพวกเขาจากสัตว์ป่าที่อันตรายได้นอกจากนี้พวกเขายังได้ตระหนักว่าสุนัขเป็นเพื่อนที่ดี ดังนั้นพวกเขาเริ่มเลี้ยงสุนัขเหมือนเป็นสัตว์เลี้ยง

6. We can say that dog is man’s best friend and his _______
(1) worst enemy.
(2) only friend.
(3) latest friend.
(4) oldest friend.
ถาม เราสามารถกล่าวได้ว่าสุนัขเป็นเพื่อนที่ดีที่สุดของมนุษย์และเป็น_____ของมนุษย์
ตอบ 4 (เพื่อนที่เก่าแก่ที่สุด) 1. ศัตรูที่เลวร้ายที่สุด 2. เพื่อนเท่านั้น 3. เพื่อนล่าสุด

7. What is the phrase “domesticated animal” means ?
(1) pest
(2) tame animal
(3) wild animal
(4) hunting animal
ถาม วลีที่ว่า “domesticated animal” (สัตว์ที่ถูกนำมาเลี้ยงให้เชื่อง) หมายถึงอะไร
ตอบ 2 (สัตว์ที่เลี้ยงให้เชื่อง) 1. สัตว์เลี้ยง 3. สัตว์ป่า 4. สัตว์สำหรับใช้ล่า

8. What is the phrase “good company” means ?
(1) rich company
(2) successful company
(3) good friend
(4) good for selling
ถาม วลีที่ว่า “good company” (เพื่อนที่ดี) หมายถึงอะไร
ตอบ 3 (เพื่อนที่ดี) 1. เพื่อนที่ร่ำรวย
1. เพื่อนที่ประสบความสำเร็จ 4. ดีสำหรับการขาย

9. The word “them” in line 2 refers to _______
(1) wild animal
(2) people
(3) pets
(4) company
ถาม คำว่า “them” ในบรรทัดที่2 อ้างอิงถึง ________
ตอบ 2 (ผู้คน) 1. สัตว์ป่า 3. สัตว์เลี้ยง 4. เพื่อน

10. What is the main idea of the above paragraph ?
(1) The first friend of human is dogs.
(2) The dog was the first domesticated animal.
(3) The dog can protect you from wild animal.
(4) The dog is good for hunting too.
ถาม ใจความสำคัญของย่อหน้าข้างต้นคืออะไร
ตอบ 2 (สุนัขเป็นสัตว์ที่ถูกนำมาเลี้ยงให้เชื่องเป็นประเภทแรก)
1.เพื่อนเริมแรกของมนุษย์คือ สุนัข
3. สุนัขสามารถปกป้องคุณจากสัตว์ป่าได้
4. สุนัขสามารถใช้ในการล่าสัตว์ได้ดีอีกด้วย

Evergreen trees do not lose their leaves in the autumn like many other kinds of trees. The fact that they do not seem to die in winter gives them special meaning in some places. In Italy, for example, evergreen trees are associated with the idea of life after death. For this reason, Italians plant evergreen….

ต้นสน (ต้นไม้ที่เขียวชอุ่มตลอดปี) จะไม่ผลัดใบของมันในฤดูใบไม้ร่วงเหมือนกับต้นไม้ประเภทอื่น ๆ ข้อเท็จจริงที่ว่ามันดูเหมือนไม่ตายในฤดูหนาว ทำให้มันมีความหมายพิเศษในสถานที่บางแห่งตัวอย่าง เช่น ในประเทศอิตาลี ต้นสนจะมีความเกี่ยวข้องกับความคิดในเรื่องชีวิตหลังความตาย ด้วยเหตุผลนี้ชาวอิตาลีจึงมักปลูกต้นสนไว้…

11. For this reason, Italians often plant evergreen______
(1) in cemeteries.
(2) along streets.
(3) in long lines
(4) in gardens.
ถาม ด้วยเหตุผลนี้ชาวอิตาลีจึงมักปลูกต้นสนไว้________
ตอบ 1 (ในสุสานฝังศพ : ความเขียวชอุ่มตลอดปีของต้นสนเป็นสัญลักษณ์ของชีวิตที่ไม่มี
วันดับสิ้นและรอการกลับมาเกิดใหม่อีกครั้ง
2. ตามข้างถนน 3. ในแนวยาว 4. ในสวน

12. Why the evergreen tree has special meaning in some places ?
(1) Because it is beautiful.
(2) Because it never die.
(3) Because it associate with lift .
(4) Because it will not die in winter.
ถาม ทำไมต้นสนจึงมีความหมายพิเศษในสถานที่บางแห่ง
ตอบ 4 (เพราะมันจะไม่ตายในฤดูหนาว) 1. เพราะมันมีความสวยงาม
2.เพราะมันไม่เคยตาย 3. เพราะมันเกี่ยวข้องกับชีวิต

13. Why they called this tree “evergreen trees” ?
(1) They won’t die in winter.
(2) They won’t die in autumn.
(3) They always green.
(4) They do not loose their leaves
ถาม ทำไมพวกเขาจึงเรียกต้นไม้นี้ว่า “evergreen trees” (ต้นสนหรือต้นไม้ที่เขียวชอุ่ม ตลอดปี)
ตอบ 3 (พวกมันจะเขียวชอุ่มอยู่เสมอ) 1. พวกมันจะไม่ตายในฤดูหนาว
2.พวกมันจะไม่ตายในฤดูใบไม้ร่วง 4. พวกมันไม่มีใบหลุดร่วง

14. The word “associated with” means _______
(1) attach with
(2) apart from
(3) along with
(4) parallel to
ถาม คำว่า “associated with” (มีความเกี่ยวข้องกับ) หมายถึง_______
ตอบ 1 (เกี่ยวข้องกับ) 2. นอกเหนือจาก 3. ตามด้วย 4. เท่าเทียมกับ

15. The word “the fact that” means________
(1) It always like that
(2) What is like that
(3) the evident that
(4) in fact
ถาม คำว่า “the fact that” (ข้อเท็จจริงที่ว่า) หมายถึง_______
ตอบ 4 (แท้ที่จริงแล้ว) 1. มันมักจะเป็นอย่างนั้น
2.สิ่งที่เหมือนกันก็คือว่า 3. พิสูจน์ว่า

The “idea box” is a useful concept in management. It was first introduced in the early twentieth century by Kodak in the United States and Michelin in France. The managers of these companies use idea boxes to collect suggestions from employees about improving production. Today, the idea box is not used much in the United States or Europe. However, it is used a lot in Japan. Japanese managers have found it to be a very valuable resource. Employees often know more than managers about the details of production. In the long run, their suggestions can make a real difference to the company. Employees who offer useful ideas may receive extra money in their paychecks.

“กล่องแสดงความคิดเห็น” เป็นแนวคิดที่มีประโยชน์ในการบริหารจัดการ มันถูกนำเสนอเป็นครั้งแรกในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 โดยบริษัทโกดักในสหรัฐอเมริกาและบริษัทมิชลินในฝรั่งเศส ผู้บริหารของบริษัทเหล่านี้ได้ใช้กล่องแสดงความคิดเห็นเพื่อเก็บรวบรมข้อเสนอแนะต่าง ๆ จากพนักงานเกี่ยวกับการปรับปรุงการผลิตให้ดีขึ้น ทุกวันนี้กล่องแสดงความคิเห็นไม่ได้ใช้มากนักในสหรัฐอเมริกาหรือยุโรป อย่างไรก็ตามมันกลับถูกใช้มากในญี่ปุ่น ผู้บริหารชาวญี่ปุ่นได้ค้นพบว่ามันคือทรัพยากรที่มีคุณค่าอย่างยิ่ง บ่อยครั้งที่พนักงานมักรู้เกี่ยวกับรายละเอียดต่าง ๆ ของการผลิตมากกว่าผู้บริหาร ในระยะยาวข้อเสนอแนะต่างๆ ของพวกเขาสามารถวร้างความแตกต่างที่แท้จริงให้กับบริษัท พนักงานที่เสนอความคิดที่เป็นประโยชน์อาจได้รับเงินพิเศษในเช็คเงินเดือนของพวกเขา

16. Which of the following topics is the best for the above passage ?
(1) Kodak in U.S.
(2) Japanese Manager
(3) Kodak in U.S. and Michelin in France
(4) Idea Box
ถาม ชื่อเรื่องใดต่อไปนี้ที่ดีที่สุดสำหรับเนื้อเรื่องข้างต้น
ตอบ 4 (กล่องแสดงความคิดเห็น) 1. บริษัทโกดักในสหรัฐอเมริกา
2.ผู้บริหารชาวญี่ปุ่น 3. บริษัทโกดักในสหรัฐอเมริกาและบริษัทมิชลินในฝรั่งเศส

17. In which country is the idea box used most ?
(1) France
(2) Japan
(3) USA
(4) Europe
ถาม ในประเทศใดที่มีการใช้กล่องแสดงความคิดเห็นมากที่สุด
ตอบ 2 (ญี่ปุ่น) 1. ฝรั่งเศส 3. สหรัฐอเมริกา 4. ยุโรป

18. When was the idea box first used ?
(1) 1901-1950
(2) 1951-1999
(3) Japan
(4) Europe
ถาม กล่องแสดงความคิดเห็นถูกใช้เป็นครั้งแรกเมื่อใด
ตอบ 1 (ช่างต้นศตวรรษที่ 20 คือประมาณปี 1901-1950)
2.ประมาณปี 1951-1999 3. ญี่ปุ่น 4. ยุโรป

19. Why was the idea box useful for management ?
(1) Because the manager used it.
(2) Because the idea is from the employees who know more details about production.
(3) Because it made real different to the company.
(4) Because Kodak and Michelin used it before.
ถาม ทำไมกล่องแสดงความคิดเห็นจึงมีประโยชน์สำหรับการบริหารจัดการ
ตอบ 3 (เพราะมันสร้างความแตกต่างที่แท้จริงให้กับบริษัท)
1.เพราะผู้บริหารใช้มัน
2.เพราะความคิดเห็นมาจากพนักงานที่รู้รายละเอียดเกี่ยวกับการผลิตมากกว่า
4.เพราะบริษัทโกดักและบรัทมิชลินใช้มันมาก่อน

20. What is the word “paychecks” means ?
(1) check the payment
(2) salary cheque
(3) pay without checking
(4) checking before paying
ถาม คำว่า “paychecks” (เช็คเงินเดือน) หมายถึงอะไร
ตอบ 2 (เช็คเงินเดือน)
1. ตรวจสอบการจ่ายเงิน
3.การจ่ายที่ไม่ได้มีการตรวจสอบ
4. การตรวจสอบก่อนการจ่ายเงิน

For many people, sitting still for a long time is one of the worst things about flying. Now doctors are discovering that there are good reasons to be unhappy about sitting still on long flights. In fact, it is not good for you at all : The blood in your legs does not flow well and you are more likely to get a blood clot (a small lump) in your leg. The clot may cause swelling and pain in the leg because the blood cannot flow past it. More serious problems can develop if part of a clot breaks off and travels to the lung. In this case, there is even the risk of death. To avoid risk, doctors recommend moving around as much as possible during a flight. Of course, you cannot stand up often or walk continually around the plane. But you can help the blood flow in your body by doing special exercises at your seat. Many airline companies now include instructions for these exercises in their in-flight magazines.

สำหรับผู้คนจำนวนมาก การนั่งนิ่ง ๆ เป็นเวลานานถือเป็นสิ่งที่แย่ที่สุดข้อหนึ่งของการเดินทางโดยเครื่องบิน ในปัจจุบันแพทย์ได้ค้นพบว่ามีเหตุผลดี ๆ หลายประการที่อธิบายถึงความทุกข์ที่เกิดขึ้นจากการนั่งนิ่ง ๆ ในเที่ยวบินที่ใช้เวลานาน แท้ที่จริงแล้ว มันก็ไม่ใช่เรื่องที่ดีสำหรับคุณทั้งหมด กล่าวคือ เลือดในขาของคุณจะไหลหมุนเวียนไม่ดีนักและคุณจะรู้สึกเหมือนว่าเลือดในขาของคุณจับตัวเป็นก้อน (ลิ่มเลือดก้อนเล็ก ๆ) ซึ่งก้อนเลือดนี้อาจเป็นสาเหตุทำให้ขาบวมและปวดขา เพราะเลือดไม่สามารถไหลลงไปที่ขาได้ ปัญหาที่แย่กว่านี้สามารถขยายออกไปได้อีกถ้าส่วนของก้อนเลือดนี้แตกออกและเคลื่อนไปยังปอด ในกรณีนี้อาจจะมีความเสี่ยงถึงตายได้ เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงนี้แพทย์จะแนะนำให้ทำการขยับตัวไปมาให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ในระหว่างบิน แน่นอนที่สุด คุณคงไม่สามารถลุกขึ้นยืนได้บ่อย ๆ หรือเดินไปรอบ ๆ ภายในเครื่องได้ตลอด แต่คุณสามารถช่วยให้เลือดไหลเวียนในร่างกายของคุณได้โดยการออกกำลังกายที่มีรูปแบบเฉพาะที่เก้าอี้ของคุณ ตอนนี้บริษัทสายการบินหลายแห่งได้รวมเอาคำแนะนำสำหรับการออกกำลังกายเหล่านี้ไว้ในนิตยสารประจำเครื่องบินของพวกเขาด้วย

21. What is the appropriate topic for the above passage ?
(1) Sitting Still
(2) Blood Flow
(3) Blood clot
(4) Risk of Death
ถาม ชื่อเรื่องที่เหมาะสมสำหรับเนื้อเรื่องข้างต้นนี้คืออะไร
ตอบ 1 (การนั่งนิ่ง ๆ) 2. การไหลเวียนของเลือด
3.อาการเลือดจับตัวเป็นก้อน 4. ความเสี่ยงถึงตาย

22. What is the worst things about flying ?
(1) blood clot
(2) sitting still
(3) blood flow
(4) moving around
ถาม อะไรเป็นสิ่งที่แย่ที่สุดของการเดินทางโดยเครื่องบิน
ตอบ 2 (การนั่งนิ่ง ๆ) 1.อาการเลือดจับตัวเป็นก้อน
3.การไหลเวียนของเลือด 4. การขยับตัวไปมา

23. Which is the best way to avoid risk when you have ling flight ?
(1) moving around
(2) reading in-flight magazine
(3) stand up
(4) walking continually
ถาม ข้อไหนเป็นวิธีที่ดีที่สุดที่จะหลีกเลี่ยงความเสี่ยงเมื่อคุณเดินทางในเที่ยวบินที่ใช้เวลานาน
ตอบ 1 (การขยับตัวไปมา) 2. การอ่านนิตยสารประจำเครื่องบิน
3.การลุกขึ้นยืน 4. การเดินอย่างต่อเนื่อง

24. What is the meaning of the word “swelling” in line 5 ?
(1) no feeling
(2) get hurt
(3) getting bigger with pain
(4) stress
ถาม ความหมายของคำว่า “swelling” (บวม)ในบรรทัดที่ 5 คืออะไร
ตอบ 3 (ขยายใหญ่ขึ้นด้วยความปวด) 1. ไม่มีความรู้สึก
2.ได้รับบาดเจ็บ 4. ความเครียด

25. The phrase “travels to the lung” means________
(1) visit the lung
(2) flow to the lung
(3) travel by plane to the lung
(4) travel with the lung
ถาม วลีที่ว่า “travels to the lung” (เคลื่อนไปยังปอด) หมายถึง ________
ตอบ 2 (ไหลเข้าสู่ปอด) 1.ไปหาปอด
3.เดินทางโดยเครื่องบินไปยังปอด 4. เดินทางพร้อมกับปอด

For many years, alligator skin was popular in the United States for making fashionable shoes and handbags. From 1870 to 1965, at least 10 million alligators were killed in the United States for their skins. Then, in 1967, the government passed laws against hunting alligators. After that, the alligator population began to grow again. Now there are…

เป็นเวลาหลายปี หนังจระเข้เป็นที่นิยมในสหรัฐอเมิรกาในการนำไปผลิตเป็นรองเท้าหรือกระเป๋าถือของผู้หญิงตามแฟชั่น นับตั้งแต่ปี 1870 ถึง 1965 จระเข้อย่างน้อยที่สุด 10 ล้านตัว ถูกฆ่าในสหรัฐอเมริกาเพื่อเอาหนังของมัน ดังนั้นในปี 1967 รัฐบาลจึงออกกฎหมายห้ามการล่าจระเข้ หลังจากนั้นประชากรของจระเข้ก็เริ่มเพิ่มขึ้นอีกครั้ง ในปัจจุบันมี……

26. Now there are _______
(1) more alligators in the United States.
(2) fewer alligators than they were in 1967.
(3) more alligators skin for making shoes and purses.
(4) nearly 2 million alligators in the United States.
ถาม ในปัจจุบันมี…….
ตอบ 4 (จระเข้เกือบ 2 ล้านตัวในสหรัฐอเมริกา)
1.จระเข้มากขึ้นในสหรัฐอเมริกา 2.จระเข้น้อยกว่าที่มีในปี 1967
3.หนังจระเข้เพื่อผลิตเป็นรองเท้าและกระเป่าเงินมากขึ้น

27. Why the US Government had to established alligator hunting law ?
(1) The people like their skins.
(2) Too many were killed.
(3) They made too much shoes.
(4) to establish proper process.
ถาม ทำไมรัฐบาลของสหรัฐ ฯ ต้องกำหนดกฎหมายเกี่ยวกับการล่าจระเข้
ตอบ 2 (มีจระเข้จำนวนมากเกินไปที่ถูกฆ่า) 1. ผู้คนชอบหนังของมัน
3.พวกเขาผลิตรองเท้ามากเกินไป 4. เพื่อกำหนดเป้นขั้นตอนที่เหมาะสม

28. Which statement is true ?
(1) More than 10 million alligators were killed from 1870 to 1965.
(2) 10 million alligators were killed from 1870 to 1965.
(3) Only 10 million alligators were killed in America.
(4) No more alligators were killed after 1965.
ถาม ข้อความใดถูกต้อง
ตอบ 1 (จระเข้จำนวนมากกว่า 10 ล้านตัวถูกฆ่านับตั้งแต่ปี 1870 ถึง 1965 : คำว่า least หมายถึง อย่างน้อยที่สุด ก็แสดงว่า จำนวนจระเข้ที่ถูกฆ่าต้องมีมากว่า 10 ล้านตัวขึ้นไป)
2.จระเข้จำนวน 10 ล้านตัวถูกฆ่านับตั้งแต่ปี 1870 ถึง 1965
3.มีจระเข้เพียง 10 ล้านตัวเท่านั้นที่ถูกฆ่าในอเมริกา
4.ไม่มีจระเข้ถูกฆ่าอีกต่อไปหลังจากปี 1965

29. The word “passed laws” has the same meaning as_______
(1) old law
(2) given-up law
(3) established law
(4) cancelled law
ถาม คำว่า “passed laws” (ออกฎหมาย) มีความหมายเหมือนกับ_______
ตอบ 3 (กำหนดหรือร่างกฎหมาย) 1. กฎหมายเก่า
2.กฎหมายที่ถูกเลิกใช้ไปแล้ว 4. ระงับกฎหมาย

30. The word “alligator population” has the same meaning as________
(1) alligator baby
(2) alligator family
(3) alligator become popular
(4) alligator number
ถาม คำว่า “alligator population” (ประชากรของจระเข้) มีความหมายเหมือนกับ_______
ตอบ 4 (จำนวนจระเข้) 1. ลูกจระเข้ 2. พันธุ์จระเข้ 3.จระเข้เป็นที่นิยม

Until recently, the kiwi fruit was rare in most countries of the world. All the kiwis came from New Zealand, which meant they were transported a great distance and were expensive. Now many countries grow kiwis. The supply of this fruit has greatly increased, and so it….

จนกระทั่งเมื่อไม่นานมานี้ ผลกีวีเป็นสิ่งที่หายากในประเทศส่วนใหญ่ของโลก กีวีทั้งหมดมาจากนิวซีแลนด์ ซึ๋งหมายความว่า พวกมันถูกขนส่งมาในระยะทางที่ไกลมากและมีราคาแพง ในปัจจุบันหลาย ๆ ประเทศได้ปลูกกีวี ปริมาณของผลไม้ชนิดนี้จึงเพิ่มขึ้นอย่างมากมาย ดังนั้นมันจึง…

31. The supply of this fruit greatly increased, and so it ______________
(1) as become even more expensive.
(2) is harder to get.
(3) is found only in New Zealand
(4) has become less expensive.
ถาม ปริมาณของผลไม้ชนิดนี้จึงเพิ่มขึ้นอย่างมากมาย ดังนั้นมันจึง___________
ตอบ (มีราคาถูกลง) 1. กลายเป็นแพงมากยิ่งขึ้น
2. ยากขึ้นกว่าที่จะได้มา 3. ถูกพบในนิวซีแลนด์เท่านั้น

32. The word “rare” in Line 1 means___________
(1) not ripe
(2) hard to find
(3) many
(4) bigger
ถาม คำว่า “rare” (หายาก) ในบรรทัดที่ 1 หมายถึง ___________
ตอบ (หายาก) 1. ยังไม่สุกเต็มที่ 3. มากมาย 4. ใหญ่ขึ้น

33. The word “great distance” means___________
(1) long way
(2) very long way
(3) every where
(4) somewhere
ถาม คำว่า “great distance” (ระยะทางที่ไกลมาก) หมายถึง ___________
ตอบ (ระยะทางที่ไกลอย่างมาก) 1. ระยะทางไกล 3. ทุกหนทุกแห่ง 4. บางแห่ง

34. What caused the Kiwi fruit became cheaper ?
(1) hardly to get
(2) it was rare
(3) distance of transport
(4) more supply
ถาม อะไรเป็นสาเหตุที่ทำให้ผลกีวีมีราคาถูกลง
ตอบ 4 (ปริมาณผลผลิตมีมากขึ้น) 1. ยากที่จะได้มา 2. มันหายาก 3. ระยะทางของการขนส่ง

35. Which statement is true ?
(1) Kiwi fruit can easily get in every country nowadays.
(2) It became less expensive nowadays.
(3) Distance of transportation made it favorite.
(4) There are no more Kiwi in New Zealand.
ถาม ข้อความใดที่ถูกต้อง
ตอบ 2 (มันกลับมีราคาถูกลงในปัจจุบัน)
1.ผลกีวีสามารถหาได้ง่ายในทุกประเทศในปัจจุบัน
3.ระยะทางของการขนส่งทำให้กีวีเป็นที่โปรดปรานของคนทั่วไป
4.ไม่มีกีวีในนิวซีแลนด์อีกต่อไป

In the late 1990s, flight attendants around the world noticed a dramatic increase in “air rage”. This is the official term for what happens when someone becomes extremely angry or upset on a plane. These people may become dangerously violent that the plane has to land somewhere and unload the passengers. Air rage may be the result of several factors. The general worsening of travel conditions in recent years has led to crowded planes and frequent delays. At the same time, airlines have generally reduced the amount of seat for each passenger, so people are more likely to feel stressed and aggressive. One other factor, has nothing to do with the airline industry. Flight attendants say that very often the people who become violent on planes have had too much alcohol to drink, either before the flight or on the plane.

ในช่วงปลายปี 1990 พนักงานต้อนรับบนเครื่องบินทั่วโลกได้สังเกตเห็นถึงการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของ “การเกิดอารมณ์เดือดดาลบนเครื่องบิน” คำนี้เป็นคำที่ใช้เรียกอย่างเป็นทางการของสิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อใครบางคนได้แสดงอารมณ์โกรธหรืออารมณ์เสียอย่างรุนแรงบนเครื่องบิน คนเหล่านั้นอาจจะแสดงความรุนแรงที่อันตรายอย่างมาก จนทำให้เครื่องบินต้องลงจอดในบางพื้นที่และไม่สามารถบรรทุกผู้โดยสารต่อไปได้ การเกิดอารมณ์เดือดดาลบนเครื่องบินอาจจะเป็นผลมาจากหลายๆปัจจัย เรื่องแย ๆ ที่พบโดยทั่วไปของสภาพการเดินทางด้วยเครื่องบินในหลายปีมานี้ได้ทำให้เครื่องบินมีผู้โดยสารแน่นขนัดและเกิดความล่าช้าอยู่บ่อยครั้ง ในขณะเดียวกัน สายการบินต่าง ๆ ได้ลดพื้นที่บริเวณที่นั่งโดยสารแต่ละคนลงดังนั้นผู้คนจึงดูเหมือนรู้สึกเครียดและดูก้าวร้าว อย่างไรก็ตาม ปัจจัยอีกประการหนึ่งก็คือ เราทำอะไรกับอุตสาหกรรมการบินไม่ได้เลย พนักงานต้อนรับบนเครื่องบินกล่าวว่า บ่อยครั้งมากที่ผู้คนซี่งแสดงอารมณ์รุนแรงบนเครื่องบินดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป ทั้งก่อนขึ้นเครื่องหรืออยู่บนเครื่องแล้วก็ตาม

36. Which is the proper heading for this passage?
(1) Flight Attendants
(2) Air Rage
(3) Drinking on Plane
(4) Travel Condition
ถาม ข้อใดเป็นหัวข้อเรื่องที่เหมาะสมสำหรับเนื้อเรื่องนี้
ตอบ 2 (การเกิดอารมณ์เดือดดาลบนเครื่องบิน) 1. พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน
3. การดื่มบนเครื่องบิน 4. สภาพการเดินทาง

37. What is The meaning of the word “ dangerously increase” in line 1 ?
(1) not increase
(2) increase very quick
(3) slowly increase
(4) increase continually
ถาม ความหมายของคำว่า “ dramatic increase” (การเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ) ในบรรทัดที่ 1 คืออะไร
ตอบ 2 (เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมาก) 1. ไม่เพิ่มขึ้น
3. เพิ่มขึ้นอย่างช้า ๆ 4. เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

38. What is the meaning of the word “ dangerously violent” in line 3 ?
(1) not so danger
(2) very danger
(3) aggressively danger
(4) danger steadily
ถาม ความหมายของคำว่า “dangerously violent” (ความรุนแรงที่อันตรายอย่างมาก ) ในบรรทัดที่ 3 คืออะไร
ตอบ 3 (อันตรายอย่างก้าวร้าว : คำว่า dangerously ในข้อนี้ควรเป็นอันตรายที่มีความหมายในเชิงก้าวร้าวรุนแรง
เพราะเกิดจากอารมณ์ของคนที่โมโหร้าย)
1. ไม่อันตรายมาก 2. อันตรายอย่างมาก 4. อันตรายอย่างไม่ลดละ

39. What is the meaning of the word “ crowded planes” in line 6 ?
(1) not too many passengers
(2) plane for the king
(3) plane for the prince
(4) too many passenger
ถาม ความหมายของคำว่า “crowded planes” (เครื่องบินที่มีผู้โดยสารแน่นขนัด ) ในบรรทัดที่ 6 คืออะไร
ตอบ (มีผู้โดยสารมากเกินไป) (1) มีผู้โดยสารไม่มากเกินไป
(2) เครื่องบินสำหรับพระมหากษัตริย์ (3) เครื่องบินสำหรับเจ้าฟ้าชาย

40. What is the meaning of the word “ frequent delays” in line 6 ?
(1) always delays
(2) never delay
(3) delay too long
(4) delay in short period
ถาม ความหมายของคำว่า “frequent delays” (เกิดความล่าช้าอยู่บ่อยครั้ง ) ในบรรทัดที่ 6 คืออะไร
ตอบ (ล่าช้าเป็นประจำ)
(2) ไม่เคยล่าช้า
(3) ล่าช้าเกินไป
(4) ล่าช้าในช่วงเวลาสั้น ๆ

จงเติมคำให้ข้อความต่อไปนี้สมบูรณ์
Alternatives for question number 41.- 44.
(1) from
(2) that
(3) about
(4) of

The doctor’s use 41. jargon, 42. is,the technical language he used, kept me 43.(1) understanding
what he was talking 44.
การใช้ 43.(4) (of) ศัพท์ทางเทคนิคของแพทย์ 42. (2) นั่นคือ ภาษาทางเทคนิคที่เขาใช้ซึ่ง 43.(1) ทำให้ ฉันไม่ เข้าใจ ในสิ่งที่เขากำลังพูด 44.(3) ถึง

41. ตอบ 4 (use of + n. = การใช้ + คำนาม)

42. ตอบ 2 (that is = นั่นคือ )

43. ตอบ 1 (kept…from = ขวางกั้น,หยุด )

44. ตอบ 3 (talk about = พูดถึงเกี่ยวกับ)

Alternatives for question number 45.- 48.
(1) of
(2) used in
(3) carrying out
(4) that is

Business ethics, 45. a good code of conduct 46. running a business, is a vital thing utilized in 47. all kinds 48. business.
จริยธรรมทางธุรกิจ 45.(4) นั่นคือ หลักการที่ดีของการปฏิบัติ 46. (2) ที่ใช้ในการดำเนินธุรกิจ อีกทั้งยังเป็นสิ่งจำเป็นที่ใช้ประโยชน์ใน 47.(3) การดำเนินงานของธุรกิจ 48. (1) (of) ทุกประเภท
45. ตอบ 4 (นั่นคือ)
46. ตอบ 2 (ที่ใช้)
47. ตอบ 3 (การดำเนินงาน)
48. ตอบ 1 (kinds of + n. = ประเภทของ + คำนาม)

Alternatives for question number 49.- 52.
(1) that is
(2) and
(3) that
(4) which

Platelets are very small particles 49. are adhesive, 50. , they stick together to stop bleeding.

เชลล์เกล็ดเลือดเป็นอนุภาคที่มีขนาดเล็กมาก 49.(4) ซึ่ง ยึดติดกัน 50.(1) นั่นคือ พวกมันจะยึดติดเข้าด้วยกันเพื่อหยุดการสูญเสียเลือด
Cash dispenser (GB) or ATM (Automated Teller Machine) is computerized machine 51. allows bank customers to withdraw money, check their balance, 52. so on.
เครื่องจ่ายเงินสด(จีบี) หรือเอทีเอ็ม (เครื่องรับจ่ายอัตโนมัติ) เป็นเครื่องคำนวณด้วยระบบคอมพิวเตอร์ 51.(3) ที่ยินยอมให้ลูกค้าของธนาคารสามารถถอนเงิน เช็คยอดเงิน 52.(2) และอื่นๆ

49. ตอบ 4 (ซึ่ง)
50. ตอบ 1 (นั่นคือ)
51. ตอบ 3 (ที่)

52. ตอบ 2 (และ)

Part of Speech (ชนิดของคำ)
Which of the following chart are true and which are false.
จากตารางต่อไปนี้จงพิจารณาว่าข้อใดถูกและข้อใดผิด
If true paints 1 If false paints 2
ถ้าถูกให้ระบายตัวเลือกที่ 1 ถ้าผิดให้ระบายตัวเลือกที่ 2
No Noun Verb Adjective Adverb

53. efficiency to efficiency – efficiency
54. prediction to predict predictable predictably
55. safety to save safe safety
56. solution to solve – solvable
57 worst – worse worse

53. ตอบ 2 (ผิด) ที่ถูกต้องคือ efficiency(n) , efficient(adj.) และ efficiently(adv.)

54. ตอบ 1 (ถูก)

55. ตอบ 2 (ผิด) ที่ถูกต้องคือ safety(n) , to save(v.) , save (adj.) และ safely (adv.)

56. ตอบ 2 (ผิด) ที่ถูกต้องคือ solution (n) , solution (v.) และ solvable (adj.)

57. ตอบ 2 (ผิด) ที่ถูกต้องคือ worse และ (the) worst เป็น adj.ที่ใช้เปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุดของ bad นั่นคือ
bad(adj.) worse (ขั้นกว่า) (the) worst (ขั้นสูงสุด)

Infrernces (การวิเคาระห์สรุปความ)
Directions: Based on the situation given, choose the best inference.
คำสั่ง : การสถานการณ์ที่ให้มา ให้เลือกการวิเคราะห์สรุปความที่ดีที่สุด

58. If you hear a rattling and knocking noise made by the engine of your car, you may
infer that your car_______
(1) needs painting.
(2) is running out of control.
(3) is in need of repair.
(4) is running short.
ถาม ถ้าคุณได้ยินเสียงโครมครามและเสียงกระตุกที่เกิดขึ้นในเครื่องยนต์ของรถคุณ
คุณอาจจะสรุปว่ารถของคุณ____________
ตอบ 3 (ควรได้รับการซ่อมแซม) 1. ควรได้รับการทาสี
2. มาสามารถควบคุมได้ 4. กำลังจะขาดแคลน

Directions: put a check by the inference most logically based on the information provided.
คำสั่ง : จงตรวจสอบข้อมูลที่ให้มาโดยใช้การวิเคราะห์สรุปความที่สมเหตุสมผลมากที่สุด

59. In pate of India, wild animals show almost no fear of the human beings who live who live near them.
(1) The animals are not very intelligent.
(2) The animals never see humans and so have developed no fear of them.
(3) The animals have been raised as pets by humans.
(4) The humans have never acted aggressively towards animals.
ถาม ในหลาย ๆ ส่วนของอินเดีย สัตว์ป่าแทบจะไม่กลัวมนุษย์ที่อาศัยอยู่ใกล้ ๆ กับพวกมัน
ตอบ 4 (มนุษย์ไม่เคยแสดงอาการก้าวร้าวรุนแรงต่อสัตว์ต่าง ๆ)
1. สัตว์ต่าง ๆ ไม่ฉลาด
2. สัตว์ต่าง ๆ ไม่เคยเห็นมนุษย์ ดังนั้นจึงพัฒนาไปเป็นความไม่กลัวมนุษย์ในที่สุด
3. สัตว์ต่าง ๆ ถูกเลี้ยงให้เป็นสัตว์เลี้ยงโดยมนุษย์
4.

Directions: Read this paragraph and choose the best inference.
คำสั่ง : จงอ่านย่อหน้านี้และเลือกการสรุปความที่ดีที่สุด

The Ford Motor Company will want to see grades before hiring a graduate. Nonsense, Ford can interview a candidate, ask him to perform acts that will give a far better idea of how valuable he will be to the firm than all the grades on his transcript, including the A he got in physics, as I did in high school, for memorizing the theorems, or whatever they were called, and passing tests on them while being unable to carry out a single laboratory experiment even with the help of the cookbook manual we were provided with. My lab partner helped me in each one.

บริษัท ฟอร์ด มอเตอร์ ต้องการจะดูเกรดก่อนที่จะมีการจ้างงานผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญา มันช่างดูไร้สาระ เพราะบริษัทฟอร์ดสามารถสัมภาษณ์ผู้สมัคร ซักถามเขาถึงการกระทำที่จะทำให้เกิดความคิดที่ดีขึ้นว่าเขาจะเป็นผู้ที่มีคุณค่าต่อบริษัทได้อย่างไร มากกว่าที่จะดูเกรดทั้งหมดในใบแสดงผลการศึกษาของเขารวมทั้งเกรดเอที่เขาได้ในวิชาฟิสิกส์เหมือนที่ผมได้ขณะที่เรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา การท่องจำสูตรพีชคณิต หรืออะไรก็ตามที่มันถูกเรียกเช่นนั้น และผ่านการสอบกับทฤษฎีต่าง ๆ ในขณะที่ไม่สามารถนำมาดำเนินการในการทดลองในห้องปฏิบัติการได้เลยสักอย่าง แม้แต่กับความช่วยเหลือของคู่มือการทำอาหารที่เราได้ถูกจัดให้ด้วย คู่หูของผมในห้องปฏิบัติการได้ช่วยเหลือผมในการทำแต่ละอย่าง

60. It is implied but not stated in the paragraph that the writer _________
(1) believes in the students’ transcripts.
(2) disagrees with using grades as judgment.
(3) used to get a grade A in physics.
(4) agrees with the grade report.
ถาม มันถูกกล่าวเป็นนัยแต่ไม่ได้ระบุอย่างชัดเจนในย่อหน้าว่าผู้เขียน _________
ตอบ 2 (ไม่เห็นด้วยกับการใช้เกรดในการพิจารณาตัดสิน)
1. เชื่อในใบแสดงผลการศึกษาของนักเรียน
3. เคยได้เกรดเอในวิชาฟิสิกส์
4. เห็นด้วยกับการรายงานเกรด
Prefixes (คำที่ใช้เติมข้างหน้า)
Which is the correct prefixes ?

คำที่มีการเติม Prefixes ไว้ข้างหน้าข้อใดที่ถูกต้อง

61. (1) unregular
(2) irregular
(3) imregular
(4) overregular
ตอบ 2 รากศัพท์คือ regular หมายถึง เป็นปกติ
เมื่อเติม Prefix คือ ir- เป็น irregular จะหมายถึง ผิดปกติ,ไม่สม่ำเสมอ

62. (1) undercredit
(2) overcredit
(3) uponcredit
(4) discredit
ตอบ 4 รากศัพท์คือ credit หมายถึง เชื่อถือ
เมื่อเติม Prefix คือ dis- เป็น discredit จะหมายถึง ไม่น่าเชื่อถือ

63. (1) encounter
(2) uncounter
(3) incounter
(4) overcounter
ตอบ 1 รากศัพท์คือ counter หมายถึง ตรงกันข้าม ,เป็นปรปักษ์
เมื่อเติม Prefix คือ en- เป็น encounter จะหมายถึง ประสบ, เผชิญหน้ากัน

64. (1) underestimated
(2) inestimated
(3) unestimated
(4) overestimated
ตอบ 1 รากศัพท์คือ estimated หมายถึง ประมาณการ
เมื่อเติม Prefix คือ under – เป็น underestimated จะหมายถึง ประมาณการต่ำไป

65. (1) transatlantic
(2) crossatlantic
(3) underatlantic
(4) overatiantic
ตอบ 1 รากศัพท์คือ atlantic หมายถึง มหาสมุทรแอตแลนติก
เมื่อเติม Prefix คือ trans – เป็น transatlantic จะหมายถึง อีกด้านหนึ่งของ
มหาสมุทรแอตแลนติก

66. (1) unnonymous
(2) innonymous
(3) anonymous
(4) exnonymous
ตอบ 3 รากศัพท์คือ onymous หมายถึง เปิดเผยชื่อ
เมื่อเติม Prefix คือ an – เป็น anonymous จะหมายถึง ไม่ประสงค์จะออกนาม,ปิดบังชื่อ

67. (1) unadequate
(2) inadequate
(3) imadequate
(4) nonadequate
ตอบ 2 รากศัพท์คือ adequate หมายถึง เพียงพอ
เมื่อเติม Prefix คือ in – เป็น inadequate จะหมายถึง ไม่เพียงพอ

68. (1) inactive
(2) underactive
(3) monactive
(4) polyactive
ตอบ 1 รากศัพท์คือ active หมายถึง กระตือรือร้น, คล่องแคล่ว
เมื่อเติม Prefix คือ in – เป็น inactive จะหมายถึง อยู่เฉย ๆ ,ไม่ทำอะไร

69. (1) illegal
(2) unlegal
(3) dislegal
(4) underlegal
ตอบ 1 รากศัพท์คือ legal หมายถึง เกี่ยวกับกฎหมาย
เมื่อเติม Prefix คือ il – เป็น illegal จะหมายถึง ผิดกฎหมาย

70. (1) immature
(2) unmature
(3) inmature
(4) overmature
ตอบ 1 รากศัพท์คือ mature หมายถึง แก่เต็มที่, ทำให้สุก
เมื่อเติม Prefix คือ im – เป็น immature จะหมายถึง อ่อน,ยังไม่สุก
Which word in each group does not belong ?
คำใดในแต่ละกลุ่มที่ไม่เข้าพวก

71.(1) odor
(2) taste
(3) fragrance
(4) scent
ตอบ 2 (รสชาติ) คำว่า odor , fragrance และ scent ล้วนหมายถึง กลิ่น,กลิ่นหอม

72.(1) growing market
(2) expanding market
(3) developing market
(4) declining market
ตอบ 4 (ตลาดที่กำลังตกต่ำ) 1. ตลาดที่กำลังเติบโต
2. ตลาดที่กำลังขยายตัว 3. ตลาดที่กำลังพัฒนา

73. (1) questionnaire
(2) promotion
(3) focus group
(4) survey
ตอบ 2 (การส่งเสริมการตลาด) 1. แบบสอบถาม
3. การเน้นไปที่กลุ่ม 4. การสำรวจ

Word Partnership (คำที่ต้องใช้คู่กัน)
Which word in each group does not form a word partnership with the given word ?
คำใดในแต่ละกลุ่มที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบของคำที่ต้องใช้คู่กันกับคำที่ให้มา

74. develop
(1) truth
(2) loyalty
(3) motivation
(4) sincere
ถาม พัฒนา,ขยาย
ตอบ 4 (จริงใจ)
1. develop truth = ขยายความจริง
2. develop loyalty = ขยายความภักดีให้มากขึ้น
3. develop motivation = พัฒนาการจูงใจ

75. share
(1) support
(2) information
(3) ideas
(4) documents
ถาม แบ่งปัน
ตอบ 1 (การสนับสนุน)
2. share information = แบ่งปันสารสนเทศ
3. share ideas = แบ่งปันความคิด
4. share documents = แบ่งปันเอกสาร

76. allocate
(1) time
(2) ideas
(3) resources
(4) works
ถาม แบ่งให้, จัดสรร
ตอบ 2 (ความคิด)
1. allocate time = จัดสรรเวลาให้
3. allocate resources = จัดสรรทรัพยากรให้
4. allocate works = แบ่งงานให้

77. interrupt
(1) e-mails
(2) conversations
(3) meeting
(4) teaching
ถาม ขัดจังหวะ
ตอบ 1 (อีเมล์)
2. interrupt conversations = ขัดจังหวะการสนทนา
3. interrupt meeting = ขัดจังหวะการประชุม
4. interrupt teaching = ขัดจังหวะการสอน

78. hold
(1) shares
(2) title
(3) calls
(4) exercises
ถาม ถือครอง,ถือ,จับไว้
ตอบ 4 (การออกกำลังกาย)
1. hold shares = ถือหุ้น
2. hold title = ถือครองตำแหน่ง
3. hold calls = ถือสายรอ

Matching word with definition (จงจับคู่คำกับความหมายของมัน)

79. disadvantage
(1) drawback
(2) gridlock
(3) overcrowding
(4) overwork
ถาม เสียประโยชน์
ตอบ 1 (ข้อเสียเปรียบ) 2. สภาพการจราจรติดขัดที่เลวร้ายมาก
3. แน่นเกินไป 4. ทำงานมากเกินไป

80. continue to live or exist
(1) replace
(2) experience
(3) reflect
(4) survive
ถาม มีชีวิตหรือคงอยู่ต่อไป
ตอบ 4 (มีชีวิตอยู่ต่อไป, รอด) 1. แทนที่
2. ประสบ,พบ 3. สะท้อนให้เห็น

APR2101 สารสนเทศและการสื่อสารทางธุรกิจ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553

การสอบไล่ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553
ข้อสอบกระบวนวิชา APR2101สารสนเทศและการสื่อสารทางธุรกิจ
คำสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดพียงคำตอบเดียว (ข้อสอบมีทั้งหมด 80 ข้อ)
Reading Comprehension (การอ่านเพื่อความเข้าใจ)

Scotland is famous for its golf courses, and many Scottish people think of golf as a truly Scottish sport. The game did not start in Scotland, however, it was first played in Holland in the fourteenth century and only later

ประเทศสกอตแลนด์มีชื่อเสียงในเรื่องหลักสูตรการเล่นกอล์ฟ และชาวสกอตจำนวนมากคิดว่ากอล์ฟเป็นเหมือนกีฬาของชาวสกอตอย่างแท้จริง อย่างไรก็ตาม การเล่นกอล์ฟไม่ได้เริ่มต้นในประเทศสกอตแลนด์ มันได้เล่นเป็นครั้งแรกในประเทศฮอลแลนด์ในศตวรรษที่ 14 และต่อมา

1. did it become____________
(1) populat with the Dutch
(2) populat in Scotland
(3) a real sport
(4) an Onlympic sport
ถาม มันกลายเป็น
ตอบ 2 (กีฬาที่ได้รับความนิยมในประเทศสกอตแลนด์เท่านั้น)
1. เป็นที่นิยมของชาวดัตช์
3. กีฬาที่แท้จริง
4. กีฬาโอลิมปิก

2. fourteenth century mean_______
(1) 14th decade
(2) year 1301-1400
(3) year 1401-1500
(4) 1 & 3 are correct
ถาม ศตวรรษที่ 14 หมายถึง________
ตอบ 2 (ช่วงปี 1301 – 1400)
1. 14 ทศวรรษ
3. ช่วงปีที่ 1401 – 1500
4. ข้อ 1 และ 3 ถูกต้อง

3. Which statement is true ?
(1) Golf first played in Holland in 1405.
(2) Scotland has many golf courses.
(3) Golf is a famous sport for Scottish.
(4) Golf course is popular in Holland.
ถาม ข้อความใดที่ถูกต้อง
ตอบ 3 (กอล์ฟเป็นกีฬาที่มีชื่อเสียงสำหรับชาวสกอตแลนด์)
1. กีฬากอล์ฟเล่นเป็นครั้งแรกในประเทศฮอลแลนด์ในปี 1405
2. ประเทศสกอตแลนด์มีหลักสูตรการเล่นกอล์ฟจำนวนมาก
4. หลักสูตรการเล่นกอล์ฟได้รับความนิยมในประเทศฮอลแลนด์

4. The word “famous for” means________
(1) popular
(2) old for
(3) called
(4) well known as
ถาม คำว่า “famous for” (มีชื่อเสียง) หมายถึง ______
ตอบ 4 (well known as หมายถึง เป็นที่รู้จักกันดี)
1. ได้รับความนิยม 2. เก่าแก่สำหรับ 3. เรียก

5. “truly…sport” means_______
(1) popular sport
(2) unique sport
(3) old sport
(4) ancient sport
ถาม “truly…sport” (กีฬา…โดยแท้จริง) หมายถึง______
ตอบ 2 (กีฬาเพียงหนึ่งเดียว)
1. กีฬาที่ได้รับความนิยม
3.กีฬาในยุคเก่า
4. กีฬาในสมัยโบราณ

The dog was the first domesticated animal. Very early in human history, people realized that a dog could help with hunting and could protect them against dangerous wild animals. They also realized that dogs were good company, and so they began to keep them as pets.

สุนัขเป็นสัตว์ที่ถูกนำมาเลี้ยงให้เชื่องเป็นประเภทแรก ในยุคแรก ๆ ของประวัติศาสตร์มนุษย์ผู้คนตระหนักว่าสุนัขสามารถช่วยในการล่าสัตว์และสามารถปกป้องพวกเขาจากสัตว์ป่าที่อันตรายได้นอกจากนี้พวกเขายังได้ตระหนักว่าสุนัขเป็นเพื่อนที่ดี ดังนั้นพวกเขาเริ่มเลี้ยงสุนัขเหมือนเป็นสัตว์เลี้ยง

6. We can say that dog is man’s best friend and his _______
(1) worst enemy.
(2) only friend.
(3) latest friend.
(4) oldest friend.
ถาม เราสามารถกล่าวได้ว่าสุนัขเป็นเพื่อนที่ดีที่สุดของมนุษย์และเป็น_____ของมนุษย์
ตอบ 4 (เพื่อนที่เก่าแก่ที่สุด) 1. ศัตรูที่เลวร้ายที่สุด 2. เพื่อนเท่านั้น 3. เพื่อนล่าสุด

7. What is the phrase “domesticated animal” means ?
(1) pest
(2) tame animal
(3) wild animal
(4) hunting animal
ถาม วลีที่ว่า “domesticated animal” (สัตว์ที่ถูกนำมาเลี้ยงให้เชื่อง) หมายถึงอะไร
ตอบ 2 (สัตว์ที่เลี้ยงให้เชื่อง) 1. สัตว์เลี้ยง 3. สัตว์ป่า 4. สัตว์สำหรับใช้ล่า

8. What is the phrase “good company” means ?
(1) rich company
(2) successful company
(3) good friend
(4) good for selling
ถาม วลีที่ว่า “good company” (เพื่อนที่ดี) หมายถึงอะไร
ตอบ 3 (เพื่อนที่ดี) 1. เพื่อนที่ร่ำรวย
2. เพื่อนที่ประสบความสำเร็จ 4. ดีสำหรับการขาย

9. The word “them” in line 2 refers to _______
(1) wild animal
(2) people
(3) pets
(4) company
ถาม คำว่า “them” ในบรรทัดที่2 อ้างอิงถึง ________
ตอบ 2 (ผู้คน) 1. สัตว์ป่า 3. สัตว์เลี้ยง 4. เพื่อน

10. What is the main idea of the above paragraph ?
(1) The first friend of human is dogs.
(2) The dog was the first domesticated animal.
(3) The dog can protect you from wild animal.
(4) The dog is good for hunting too.
ถาม ใจความสำคัญของย่อหน้าข้างต้นคืออะไร
ตอบ 2 (สุนัขเป็นสัตว์ที่ถูกนำมาเลี้ยงให้เชื่องเป็นประเภทแรก)
1.เพื่อนเริมแรกของมนุษย์คือ สุนัข
3. สุนัขสามารถปกป้องคุณจากสัตว์ป่าได้
4. สุนัขสามารถใช้ในการล่าสัตว์ได้ดีอีกด้วย

Evergreen trees do not lose their leaves in the autumn like many other kinds of trees. The fact that they do not seem to die in winter gives them special meaning in some places. In Italy, for example, evergreen trees are associated with the idea of life after death. For this reason, Italians plant evergreen….

ต้นสน (ต้นไม้ที่เขียวชอุ่มตลอดปี) จะไม่ผลัดใบของมันในฤดูใบไม้ร่วงเหมือนกับต้นไม้ประเภทอื่น ๆ ข้อเท็จจริงที่ว่ามันดูเหมือนไม่ตายในฤดูหนาว ทำให้มันมีความหมายพิเศษในสถานที่บางแห่งตัวอย่าง เช่น ในประเทศอิตาลี ต้นสนจะมีความเกี่ยวข้องกับความคิดในเรื่องชีวิตหลังความตาย ด้วยเหตุผลนี้ชาวอิตาลีจึงมักปลูกต้นสนไว้…

11. For this reason, Italians often plant evergreen______
(1) in cemeteries.
(2) along streets.
(3) in long lines
(4) in gardens.
ถาม ด้วยเหตุผลนี้ชาวอิตาลีจึงมักปลูกต้นสนไว้________
ตอบ 1 (ในสุสานฝังศพ : ความเขียวชอุ่มตลอดปีของต้นสนเป็นสัญลักษณ์ของชีวิตที่ไม่มี วันดับสิ้นและรอการกลับมาเกิดใหม่อีกครั้ง
2. ตามข้างถนน 3. ในแนวยาว 4. ในสวน

12. Why the evergreen tree has special meaning in some places ?
(1) Because it is beautiful.
(2) Because it never die.
(3) Because it associate with lift
(4) Because it will not die in winter.
ถาม ทำไมต้นสนจึงมีความหมายพิเศษในสถานที่บางแห่ง
ตอบ 4 (เพราะมันจะไม่ตายในฤดูหนาว) 1. เพราะมันมีความสวยงาม
2.เพราะมันไม่เคยตาย 3. เพราะมันเกี่ยวข้องกับชีวิต

13. Why they called this tree “evergreen trees” ?
(1) They won’t die in winter.
(2) They won’t die in autumn.
(3) They always green.
(4) They do not loose their leaves
ถาม ทำไมพวกเขาจึงเรียกต้นไม้นี้ว่า “evergreen trees” (ต้นสนหรือต้นไม้ที่เขียวชอุ่ม ตลอดปี)
ตอบ 3 (พวกมันจะเขียวชอุ่มอยู่เสมอ) 1. พวกมันจะไม่ตายในฤดูหนาว
2.พวกมันจะไม่ตายในฤดูใบไม้ร่วง 4. พวกมันไม่มีใบหลุดร่วง

14. The word “associated with” means _______
(1) attach with
(2) apart from
(3) along with
(4) parallel to
ถาม คำว่า “associated with” (มีความเกี่ยวข้องกับ) หมายถึง_______
ตอบ 1 (เกี่ยวข้องกับ) 2. นอกเหนือจาก 3. ตามด้วย 4. เท่าเทียมกับ

15. The word “the fact that” means________
(1) It always like that
(2) What is like that
(3) the evident that
(4) in fact
ถาม คำว่า “the fact that” (ข้อเท็จจริงที่ว่า) หมายถึง_______
ตอบ 4 (แท้ที่จริงแล้ว) 1. มันมักจะเป็นอย่างนั้น
2.สิ่งที่เหมือนกันก็คือว่า 3. พิสูจน์ว่า

Elephants are the largest land animal in the world. Whales are the largest sea animal. These two huge animal may, in fact, come from the same biological family. Biologists now believe that the ancestors of elephants once lived in the sea, like whales. There is plenty of evidence to support this idea. For example, the shape of an elephant’s head is similar to a whale’s. Another similarity is in the fact that both animal are excellent swimmers. Some elephants have chosen to swim for food to island up to 300 miles away. Like the whale, the elephants uses sounds to show anger or for other kinds of communication. Finally, female elephants and female whales stay close to other females and help them when they give birth.

ช้างเป็นสัตว์บกที่ใหญ่ที่สุดในโลก วาฬเป็นสัตว์น้ำที่ใหญ่ที่สุด แท้ที่จริงแล้ว สัตว์ขนาดใหญ่ทั้ง 2 ประเภทนี้อาจจะมาจากสายพันธุ์เดียวกัน ในปัจจุบันนักชีววิทยาเชื่อว่า ครั้งหนึ่งบรรพบุรุษของช้างเคยอาศัยอยู่ในทะเลเช่นเดี่ยวกับวาฬ มีหลักฐานจำนวนมากที่สนับสนุนความคิดนี้ ตัวอย่างเช่น รูปร่างของหัวช้างมีลักษณะคล้ายกับหัวของวาฬ ความเหมือนอีกอย่างหนึ่งคือ ความจริงที่ว่าสัตว์ทั้งสองชนิดนี้เป็นนักว่ายน้ำที่ยอดเยี่ยม ช้างบางตัวเลือกที่จะว่ายน้ำไปหาอาหารยังเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ห่างจากฝั่งถึง 300 ไมล์เช่นเดียวกับวาฬ ช้างจะใช้เสียงเพื่อแสดงถึงความโกรธหรือใช้ติดต่อสื่อสารในลักษณะอื่น ๆ ท้ายที่สุดนี้ทั้งช้างและวาฬตัวเมียจะอาศัยอยู่ใกล้กับตัวเมียตัวอื่น ๆ และช่วยเหลือกันเมื่อพวกมันคลอดลูก

16. Which is the best topic for the above passage ?
(1) How elephants are good swimmer.
(2) The largest animal in the world.
(3) How elephants and whales are alike.
(4) Elephant is the same as whale.
ถาม ข้อใดคือหัวเรื่องที่ดีที่สุดสำหรับเนื้อเรื่องข้างต้น
ตอบ 3 (ช้างและวาฬคล้ายกันอย่างไร) 1. ช้างเป็นนักว่ายน้ำที่เก่งได้อย่างไร
2.สัตว์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก 4. ช้างเหมือนกับวาฬ

17. How many evidence does the writer gave to support the idea of similarity ?
(1) 2 evidences
(2) 3 evidences
(3) 3 evidences
(4) single evidence
ถาม มีหลักฐานกี่ประการที่ผู้เขียนยกขึ้นมาสนับสนุนแนวคิดในเรื่องความคล้ายกัน
ตอบ 3 (4 ประการ) 1. 2 ประการ 2. 3 ประการ 4. มีประการเดียว

18. What did both elephants and whales use to communicate ?
(1) sound
(2) gesture
(3) eyes
(4) both gesture and eyes
ถาม ทั้งช้างและวาฬใช้อะไรในการติดต่อสื่อสาร
ตอบ 1 (เสียง) 2. การแสดงกิริยาท่าทาง 3.สายตา
4. ทั้งการแสดงกิริยาท่าทางและสายตา

19. What is the meaning of the word “ancestors” in line 3 means ?
(1) grand parents
(2) brother & sister
(3) father and mother
(4) son & daughter
ถาม ความหมายของคำว่า “ancestors” (บรรพบุรุษ) ในบรรทัดที่ 3 คืออะไร
ตอบ 1 (ปู่ย่าตายาย) 2. พี่ชายและน้องสาว 3. พ่อและแม่ 4. ลูกชายและลูกสาว

20. The word “stay close to other” in line 8 means________
(1) do not want top stay with
(2) want to stay with
(3) stay near the other
(4) stay far from the others
ถาม คำว่า “stay close to other” (อาศัยอยู่ใกล้กับตัวอื่น) ในบรรทัดที่ 8 หมายถึง _____
ตอบ 3 (อาศัยอยู่ใกล้กับตัวอื่น)
1. ไม่ต้องการอาศัยอยู่ข้างบนกับ
2.ต้องการอาศัยอยู่กับ
4. อาศัยอยู่ห่างจากตัวอื่น

For many people, sitting still for a long time is one of the worst things about flying. Now doctors are discovering that there are good reasons to be unhappy about sitting still on long flights. In fact, it is not good for you at all : The blood in your legs does not flow well and you are more likely to get a blood clot (a small lump) in your leg. The clot may cause swelling and pain in the leg because the blood cannot flow past it. More serious problems can develop if part of a clot breaks off and travels to the lung. In this case, there is even the risk of death. To avoid risk, doctors recommend moving around as much as possible during a flight. Of course, you cannot stand up often or walk continually around the plane. But you can help the blood flow in your body by doing special exercises at your seat. Many airline companies now include instructions for these exercises in their in-flight magazines.

สำหรับผู้คนจำนวนมาก การนั่งนิ่ง ๆ เป็นเวลานานถือเป็นสิ่งที่แย่ที่สุดข้อหนึ่งของการเดินทางโดยเครื่องบิน ในปัจจุบันแพทย์ได้ค้นพบว่ามีเหตุผลดี ๆ หลายประการที่อธิบายถึงความทุกข์ที่เกิดขึ้นจากการนั่งนิ่ง ๆ ในเที่ยวบินที่ใช้เวลานาน แท้ที่จริงแล้ว มันก็ไม่ใช่เรื่องที่ดีสำหรับคุณทั้งหมด กล่าวคือ เลือดในขาของคุณจะไหลหมุนเวียนไม่ดีนักและคุณจะรู้สึกเหมือนว่าเลือดในขาของคุณจับตัวเป็นก้อน (ลิ่มเลือดก้อนเล็ก ๆ) ซึ่งก้อนเลือดนี้อาจเป็นสาเหตุทำให้ขาบวมและปวดขา เพราะเลือดไม่สามารถไหลลงไปที่ขาได้ ปัญหาที่แย่กว่านี้สามารถขยายออกไปได้อีกถ้าส่วนของก้อนเลือดนี้แตกออกและเคลื่อนไปยังปอด ในกรณีนี้อาจจะมีความเสี่ยงถึงตายได้ เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงนี้แพทย์จะแนะนำให้ทำการขยับตัวไปมาให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ในระหว่างบิน แน่นอนที่สุด คุณคงไม่สามารถลุกขึ้นยืนได้บ่อย ๆ หรือเดินไปรอบ ๆ ภายในเครื่องได้ตลอด แต่คุณสามารถช่วยให้เลือดไหลเวียนในร่างกายของคุณได้โดยการออกกำลังกายที่มีรูปแบบเฉพาะที่เก้าอี้ของคุณ ตอนนี้บริษัทสายการบินหลายแห่งได้รวมเอาคำแนะนำสำหรับการออกกำลังกายเหล่านี้ไว้ในนิตยสารประจำเครื่องบินของพวกเขาด้วย

21. What is the appropriate topic for the above passage ?
(1) Sitting Still
(2) Blood Flow
(3) Blood clot
(4) Risk of Death
ถาม ชื่อเรื่องที่เหมาะสมสำหรับเนื้อเรื่องข้างต้นนี้คืออะไร
ตอบ 1 (การนั่งนิ่ง ๆ)
2. การไหลเวียนของเลือด
3.อาการเลือดจับตัวเป็นก้อน
4. ความเสี่ยงถึงตาย

22. What is the worst things about flying ?
(1) blood clot
(2) sitting still
(3) blood flow
(4) moving around
ถาม อะไรเป็นสิ่งที่แย่ที่สุดของการเดินทางโดยเครื่องบิน
ตอบ 2 (การนั่งนิ่ง ๆ) 1.อาการเลือดจับตัวเป็นก้อน
3.การไหลเวียนของเลือด 4. การขยับตัวไปมา

23. Which is the best way to avoid risk when you have ling flight ?
(1) moving around
(2) reading in-flight magazine
(3) stand up
(4) walking continually
ถาม ข้อไหนเป็นวิธีที่ดีที่สุดที่จะหลีกเลี่ยงความเสี่ยงเมื่อคุณเดินทางในเที่ยวบินที่ใช้เวลานาน
ตอบ 1 (การขยับตัวไปมา) 2. การอ่านนิตยสารประจำเครื่องบิน
3.การลุกขึ้นยืน 4. การเดินอย่างต่อเนื่อง

24. What is the meaning of the word “swelling” in line 5 ?
(1) no feeling
(2) get hurt
(3) getting bigger with pain
(4) stress
ถาม ความหมายของคำว่า “swelling” (บวม)ในบรรทัดที่ 5 คืออะไร
ตอบ 3 (ขยายใหญ่ขึ้นด้วยความปวด) 1. ไม่มีความรู้สึก
2.ได้รับบาดเจ็บ 4. ความเครียด

25. The phrase “travels to the lung” means________
(1) visit the lung
(2) flow to the lung
(3) travel by plane to the lung
(4) travel with the lung
ถาม วลีที่ว่า “travels to the lung” (เคลื่อนไปยังปอด) หมายถึง ________
ตอบ 2 (ไหลเข้าสู่ปอด) 1.ไปหาปอด
3.เดินทางโดยเครื่องบินไปยังปอด 4. เดินทางพร้อมกับปอด

When Christopher Columbus sailed west from Spain in 1492, he dreamed of reaching Asia. He did not know there were other continents between Europe and Asia or that the land he found was America. He never realized his mistake, and when he died he still believed that…

26. the land he found was ______ .
(1) Asia
(2) America
(3)Spain
(4) another continent
ถาม ดินแดนที่เขาพบก็คือ
ตอบ 1 (ทวีปเอเชีย) 2. ทวีปอเมริกา 3. สเปน 4. อีกทวีปหนึ่ง

27. Which statement is true ?
(1) Columbus slept and dreamed that he reached Asia.
(2) America continent was in the middle between Asia and Europe.
(3) His belief made Columbus died.
(4) Asia was in the west of Spain.
ถาม ข้อความใดถูกต้อง
ตอบ 2 (ทวีปอเมริกาอยู่ตรงกลางระหว่างทวีปเอเชียและทวีปยุโรป)
1.โคลัมบัสนอนหลับและฝันว่าเขาได้ไปถึงทวีปเอเชีย
3.ความเชื่อของเขาทำให้โคลัมบัสเสียชีวิต
4.ทวีปเอเชียอยู่ทางภาคตะวันตกของสเปน

28. Which statement is true ?
(1) Asia was in the east of Spain.
(2) West of America is Europe.
(3) West of Europe is Asia.
(4) East Europe is America.
ถาม ข้อความใดที่ถูกต้อง
ตอบ 1 (ทวีปเอเชียอยู่ทางทิศตะวันออกของสเปน)
2.ทิศตะวันตกของทวีปอเมริกาคือทวีปยุโรป
3.ทิศตะวันตกของทวีปยุโรปคือทวีปเอเชีย
4.ทางด้านยุโรปตะวันออกคือทวีปอเมริกา

29. Which statement is true ?
(1) Columbus hoped to landing Asia.
(2) Reaching Asia was only a dream.
(3) He knew America before Asia.
(4) He thought that he was right.
ถาม ข้อความใดถูกต้อง
ตอบ 4 (เขาคิดว่าเขาถูก)
1.โคลัมบัสคาดหวังที่จะลงจอดที่ทวีปเอเชีย
2.การไปให้ถึงทวีปเอเชียเป็นแค่เพียงความฝัน
3.เขารู้จักทวีปอเมริกาก่อนทวีปเอเชีย

30. What is Columbus mistake ?
(1) He thought that Asia was America.
(2) He thought that the land in his dream was Asia.
(3) He thought that America was Asia.
(4) He found America.
ถาม ความผิดพลาดของโคลัมบัสคืออะไร
ตอบ 3 (เขาคิดว่าทวีปอเมริกาคือทวีปเอเชีย)
1.เขาคิดว่าทวีปเอเชียคือทวีปอเมริกา
2.เขาคิดว่าดินแดนในความฝันของเขาก็คือทวีปเอเชีย
4.เขาค้นพบทวีปอเมริกา

For many years, alligator skin was popular in the United States for making fashionable shoes and handbags. From 1870 to 1965, at least 10 million alligators were killed in the United States for their skins. Then, in 1967, the government passed laws against hunting alligators. After that, the alligator population began to grow again. Now there are…

เป็นเวลาหลายปี หนังจระเข้เป็นที่นิยมในสหรัฐอเมิรกาในการนำไปผลิตเป็นรองเท้าหรือกระเป๋าถือของผู้หญิงตามแฟชั่น นับตั้งแต่ปี 1870 ถึง 1965 จระเข้อย่างน้อยที่สุด 10 ล้านตัว ถูกฆ่าในสหรัฐอเมริกาเพื่อเอาหนังของมัน ดังนั้นในปี 1967 รัฐบาลจึงออกกฎหมายห้ามการล่าจระเข้ หลังจากนั้นประชากรของจระเข้ก็เริ่มเพิ่มขึ้นอีกครั้ง ในปัจจุบันมี……

31. Now there are _______
(1) more alligators in the United States.
(2) fewer alligators than they were in 1967.
(3) more alligators skin for making shoes and purses.
(4)nearly 2 million alligators in the United States.
ถาม ในปัจจุบันมี…….
ตอบ 4 (จระเข้เกือบ 2 ล้านตัวในสหรัฐอเมริกา)
1.จระเข้มากขึ้นในสหรัฐอเมริกา
2.จระเข้น้อยกว่าที่มีในปี 1967
3.หนังจระเข้เพื่อผลิตเป็นรองเท้าและกระเป่าเงินมากขึ้น

32. Why the US Government had to established alligator hunting law ?
(1) The people like their skins.
(2) Too many were killed.
(3) They made too much shoes.
(4) to establish proper process.
ถาม ทำไมรัฐบาลของสหรัฐ ฯ ต้องกำหนดกฎหมายเกี่ยวกับการล่าจระเข้
ตอบ 2 (มีจระเข้จำนวนมากเกินไปที่ถูกฆ่า)
1. ผู้คนชอบหนังของมัน
3.พวกเขาผลิตรองเท้ามากเกินไป
4. เพื่อกำหนดเป้นขั้นตอนที่เหมาะสม

33. Which statement is true ?
(1) More than 10 million alligators were killed from 1870 to 1965.
(2) 10 million alligators were killed from 1870 to 1965.
(3) Only 10 million alligators were killed in America.
(4) No more alligators were killed after 1965.
ถาม ข้อความใดถูกต้อง
ตอบ 1 (จระเข้จำนวนมากกว่า 10 ล้านตัวถูกฆ่านับตั้งแต่ปี 1870 ถึง 1965 : คำว่า least หมายถึง อย่างน้อยที่สุด ก็แสดงว่า จำนวนจระเข้ที่ถูกฆ่าต้องมีมากว่า 10 ล้านตัวขึ้นไป)
2.จระเข้จำนวน 10 ล้านตัวถูกฆ่านับตั้งแต่ปี 1870 ถึง 1965
3.มีจระเข้เพียง 10 ล้านตัวเท่านั้นที่ถูกฆ่าในอเมริกา
4.ไม่มีจระเข้ถูกฆ่าอีกต่อไปหลังจากปี 1965

34. The word “passed laws” has the same meaning as_______
(1) old law
(2) given-up law
(3) established law
(4) cancelled law
ถาม คำว่า “passed laws” (ออกฎหมาย) มีความหมายเหมือนกับ_______
ตอบ 3 (กำหนดหรือร่างกฎหมาย) 1. กฎหมายเก่า
2.กฎหมายที่ถูกเลิกใช้ไปแล้ว 4. ระงับกฎหมาย

35. The word “alligator population” has the same meaning as________
(1) alligator baby
(2) alligator family
(3) alligator become popular
(4) alligator number
ถาม คำว่า “alligator population” (ประชากรของจระเข้) มีความหมายเหมือนกับ_______
ตอบ 4 (จำนวนจระเข้) 1. ลูกจระเข้ 2. พันธุ์จระเข้ 3.จระเข้เป้นที่นิยม

Complete the following statements.
จงเติมคำเพื่อทำให้ข้อความต่อไปนี้สมบูรณ์

Alternative for question number 36. – 39.
(1) Version
(2) plan
(3) wage
(4) pure

The economist acknowledged that his___36.___ is unlikely to be used in its __37.___ form, but says that even a modified ____38.___ would be good for the America economy. Companies, for example, could guarantee a base ____39.____ and then offer variable bonuses that would be a share of profits or revenues.

นักเศรษฐสาสตร์ได้ยอมรับว่า 36. (2) แผนการของเขาไม่เหมือนกับที่ถูกใช้ในรูปแบบ 37. (4)ที่เป็นอุดมคติของมัน แต่เขาได้กล่าวว่ามันเป็น 38. (1) รูปแบบใหม่ที่ปรับปรุงแล้ว ซึ่งน่าจะดีสำหรับเศรษฐกิจของอเมริกา ตัวอย่างเช่น บริษัทต่าง ๆ สามารถรับรองในเรื่องฐาน 39. (3) เงินเดือน และเสนอโบนัสที่แตกต่างกันซึ่งน่าจะเป็นส่วนแบ่งของผลกำไรหรือรายได้

36. ตอบ 2 (แผนการ)

37. ตอบ 4 (ที่บริสุทธิ์, ที่เป็นอุดมคติ)

38. ตอบ 1 (รูปแบบใหม่)

39. ตอบ 3 (เงินเดือน)

Alternative for question number 40. – 43.
(1) As much as
(2) can
(3) that
(4) also

He 40. Cites Japan’s economy as proof 41. A share system 42. Work.in many Japanese corporations. 43. Half of a worker’s pay comes in the in the form of a bonus or revenues.

นอกจากนี้เขา 40.(4) ยังอ้างเศรษฐกิจชองญี่ปุ่นเพื่อเป็นการพิสูจน์ 41.(3) ว่า ระบบการแบ่งปันผลกำไร 42.(2)สามารถใช้ได้ดี ในหลาย ๆ บริษัทของญี่ปุ่นพบว่า 43.(1) มากเท่ากับครึ่งหนึ่งของค่าจ้างที่จ่ายให้แก่พนักงานได้เริ่มใช้นี้รูปแบบของเงินโบนัสหรือรายได้

(1)Linked
(2) sharing
(3) quality
(4) hard

This makes the Japanese work 44. And strive for 45. because some of their pay is 46. To the company’s fortunes. Widespread use of profit 47. , says Weitzman, is one part of the Japanese success story that the U.S. can easily and profitably imitate.

สิ่งนี้ทำให้ชาวญี่ปุ่นทำงาน 44. (4) หนัก และพยายามแข่งขันกันในเรื่อง 45. (3) คุณภาพ ทั้งนี้เพราะค่าใช้จ้างบางส่วนของพวกเขาจะ 46. (1) เกี่ยวโยงกับสิ่งที่กำหนดความสำเร็จของบริษัท Weitzman ได้กล่าวว่าการใช้ 47. (2) การแบ่งปันผลกำไรอย่างแพร่หลายนั้นเป้นส่วนหนึ่งของเรื่องราวความสำเร็จของชาวญี่ปุ่นที่สหรัฐอเมริกาสามารถลอกเลียนแบบได้โดยง่ายและเป็นประโยชน์

40. ตอบ 4 (หนัก)
41. ตอบ 3 (คุณภาพ)

42. ตอบ 1 (เกี่ยวโยงกับ)

43. ตอบ 2 (การแบ่งปัน)

Part of Speech (ชนิดของคำ)

Which of the following chart are true and which are false.
จากตารางต่อไปนี้จงพิจารณาว่าข้อใดถูกและข้อใดผิด
If true paints 1 If false paints 2
ถ้าถูก ให้ระบายตัวเลือกที่ 1 ถ้าผิด ให้ระบายตัวเลือกที่ 2
No. Noun Verb Adjective Adverb
48. beauty to beautify beautiful beautifully
49. creative to create creatively creation
50. crowd to crowd crowded –
51. differ to different differently difference
52. difficulty to difficult –
48. ตอบ 1 (ถูก)
49. ตอบ 2 (ผิด) ที่ถูกต้องคือ creation (n.), to create (v.), creative (adj.), และ creatively (adv.)
50. ตอบ 1 (ถูก)
51. ตอบ 2 (ผิด) ที่ถูกต้องคือ difference (n.), to differ (v.), different (adj.) และ differently (adv.)

52. ตอบ 2 (ผิด) ที่ถูกต้องคือ difficulty (n.) และ difficult (adj.)
Inferences (การวิเคราะห์สรุปความ)
Directions : Based on the situation given, choose the best inference.
คำสั่ง : จากสถานการณ์ที่ให้มา จงเลือกการวอเคราะห์สรุปความที่ดีที่สุด

53. If you see a woman wearing a diamond necklace and a large diamond ring, you may infer that she is probably ______.
(1) wealthy
(2) beautiful
(3) over-dressed
(4) poor
ถาม ถ้าคุณเห็นผู้หญิงคนหนึ่งสวมสร้อยเพชรและสวมแหวนเพชรเม็ดใหญ่วงหนึ่ง คุณอานสรุปได้ว่าเธอ น่าจะ _______
ตอบ 1 (ร่ำรวย)
2. สวยงาม
3. สวมใส่เสื้อผ้าที่เป็นทางการ
4. ยากจน

54. A woman enters her office building, past a group of fellow employees without returning their greetings, and goes into her office, slamming the door.
(1) The woman has just been fired from her job.
(2) The woman is very angry at her boss.
(3) The woman is in a bad mood.
(4) The woman has a lot of work to do this morning.
ถาม ผู้หญิงคนหนึ่งเข้ามาที่อาคารสำนักงานของเธอ เดินผ่านกลุ่มของเพื่อนร่วมงานโดยไม่ได้กล่าวตอบกลับคำทักทายของพวกเขา และเดินตรงไปยังที่ทำงานของเธอ แล้วปิดประตูดังปัง
ตอบ 3 (ผู้หญิงคนนี้อยู่ในช่วงอารมณ์เสีย)
1. ผู้หญิงคนนี้เพิ่งถูกไล่ออกจากงาน
2.ผู้หญิงคนนี้รู้สึกโกรธเจ้านายของเธออย่างมาก
4.ผู้หญิงคนนี้มีงานให้ทำมากมายในช่วงเช้านี้

Directions : Read this paragraph and choose the best inference.
คำสั่ง : จงอ่านย่อหน้านี้ และเลือกการสรุปความที่ดีที่สุดให้

Dear Khun Pornchai,
Thank you very much for inviting me to make a speech on “Organization Planning” at 2.00 p.m. on July 19, 2010 to the 4th year students at your Faculty. I regret that I have a very important to attend at that time on the date.
However, I do hope that I will have another opportunity to talk to all of you in the near future.
Sincerely yours,

ถึงคุณพรชัย
ขอบคุณอย่างมากสำหรับการเชิญผมมากล่าวสุนทรพจน์ในเรื่อง “การวางแผนองค์การ” ในช่วงเวลา 14.00 น. ของวันที่ 19 กรกฎาคม ค.ศ. 2010 ให้กับนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ที่คณะของคุณ แต่ผมต้องขอแสดงความเสียใจด้วยว่าผมมีการประชุมที่สำคัญอย่างมากที่ต้องไปเข้าร่วมในช่วงเวลาและวันเดียวกันนั้น
อย่างไรก็ตาม ผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผมจะมีโอกาสอีกครั้งในการเข้าไปพูดคุยกับพวกคุณทั้งหมดในอนาคตอันใกล้นี้ด้วยความจริงใจ

55. It is implied but not stated in the paragraph that the writer _______
(1) will go to make a speech to the students on July 19.
(2) cannot accept the invitation to make a speech on July 19.
(3) will have to attend a very important meeting on July 19.
(4) is available for that invitation.
ถาม มันมีการบอกเป็นนัยแต่ไม่ได้ระบุไว้อย่างชัดเจนในย่อหน้าว่าผู้เขียน_______
ตอบ 2 (ไม่สามารถตอบรับการเชื้อเชิญให้ไปกล่าวสุนทรพจน์ในวันที่ 19 กรกฎาคม ได้)
(1)จะไปกล่าวสุนทรพจน์ให้นักศึกษาฟังในวันที่ 19 กรกฎาคม
(3)จะมีการเข้าร่วมประชุมที่สำคัญอย่างมากในวันที่ 19 กรกฎาคม
(4)มีเวลาว่างสำหรับการเชื้อเชิญนั้น

Word Partnership (คำที่ต้องใช้คู่กัน)
Which word in each group does not form a word partnership with the given word ?
คำใดในแต่ละกลุ่มที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบคำที่ต้องใช้คู่กันกับคำที่ให้มา

56. waste
(1) time
(2) resources
(3) information
(4) money
ถาม เสียไปโดยเปล่าประโยชน์, สิ้นเปลือง
ตอบ 3 (ข้อมูลข่าวสาร)
1.waste time = เสียเวลาโดยเปล่าประโยชน์
2.waste resources = สิ้นเปลืองทรัพยากร
4. waste money = เสียเงินโดยใช่เหตุ

57. face
(1) trouble
(2) problem
(3) difficulty
(4) criticize
ถาม เผชิญหน้า, พบ, ยอมรับ
ตอบ 4 (วิจารณ์, วิเคราะห์ : criticize เป็นคำกริยา (v.) ซึ่งคำที่ตามหลัง face ควรเป็นคำนาม)
1. face trouble = เผชิญปัญหาหรืออุปสรรค์
2. face problem = เผชิญปัญหา
3. face difficulty = เผชิญความยุ่งยาก

58. duplicate
(1) information
(2) time
(3) work
(4) document
ถาม ทำสำเนา, ทำซ้ำอีกครั้ง
ตอบ 2 (เวลา)
1. duplicate information = ทำสำเนาข้อมูลข่าวสาร
3. duplicate work = ทำงานซ้ำอีกครั้ง
4. duplicate document = ทำสำเนาเอกสาร

59. install
(1) system
(2) factories
(3) equipment
(4) program
ถาม ติดตั้ง
ตอบ 2 (โรงงาน)
1. install system = ติดตั้งระบบ
3. install equipment = ติดตั้งอุปกรณ์
4. install program = ติดตั้งโปรแกรม

60. save
(1) money
(2) time
(3) experience
(4) life
ถาม ช่วยประหยัด, ช่วย (ชีวิต), ป้องกัน
ตอบ 3 (ประสบการณ์) 1. save money = ประหยัดเงิน, เก็บเงิน
2. save time = ประหยัดเวลา 4. save life = ช่วยชีวิต

Prefixes (การเติมคำนำหน้า)
Which is the correct prefixes ?
ข้อใดเป็นการเตอมคำนำหน้า (prefixes) ที่ถูกต้อง

61. (1) disadvantage
(2) underadvantage
(3) unadvantage
(4) inadvantage
ตอบ 1 รากศัพท์คือ advantage หมายถึง การได้เปรียบ, ข้อดีเมื่อเติม Prefix คือ dis- เป็น disadvantage หมายถึง ข้อเสีย, ทำให้เสียเปรียบ

62. (1) unpolite
(2) inpolite
(3) dispolite
(4) impolite
ตอบ 4 รากศัพท์คือ polite หมายถึง สุภาพเมื่อเติม Prefix คือ im- เป็น impolite หมายถึง ไม่สุภาพ

63. (1) inusual
(2)imusual
(3) unusual
(4) disusual
ตอบ 3 รากศัพท์คือ usual หมายถึง โดยปกติเมื่อเติม Prefix คือ un- เป็น unusual หมายถึง ผิดปกติ

64. (1) incorrect
(2) discorrect
(3) uncorrect
(4) imcorrect
ตอบ 1 รากศัพท์คือ correct หมายถึง ถูกต้องเมื่อเติม Prefix คือ in- เป็น incorrect หมายถึง ไม่ถูกต้อง

65. (1) unregular
(2) irregular
(3) imregular
(4) overregular
ตอบ 2 รากศัพท์เดิมคือ regular หมายถึง เป็นปกติ, สม่ำเสมอเมื่อเติม Prefix คือ ir- เป็น irregular หมายถึง ไม่สม่ำเสมอ, ผิดปกติ

66. (1) undercredit
(2)overdercredit
(3) uponcredit
(4) discredit
ตอบ 4 รากศัพท์เดิมคือ credit หมายถึง ความเชื่อถือ
เมื่อเติม Prefix คือ ids- เป็น discredit หมายถึง ทำให้เสียชื่อเสียง, ทำให้ไม่มีใคร เชื่อถือ

67. (1) encounter
(2) uncounter
(3) incounter
(4) overcounter
ตอบ 1 รากศัพท์เดิมคือ counter หมายถึง ตรงกันข้าม, เป็นปรปักษ์
เมื่อเติม Prefix คือ en- เป็น encounter หมายถึง ประสบ, พบ, เผชิญหน้า

68. (1) preliminary
(2) unliminary
(3)disliminary
(4) postliminary
ตอบ 1 รากศัพท์เดิมคือ liminary หมายถึง เบื้องต้น, ขั้นต้น
เมื่อเติม Prefix คือ pre- เป็น preliminary หมายถึง เบื้องต้น คำนำ

69. (1) biactive
(2) bilingual
(3) bisensor
(4) bipersonal
ตอบ 2 รากศัพท์เดิมคือ lingual หมายถึง เกี่ยวกับภาษา
เมื่อเติม Prefix คือ bi- เป็น bilingual หมายถึง ใช้ได้สองภาษา

70. (1) discrimination
(2) ilregulation
(3) antidirect
(4) underbias
ตอบ 1 รากศัพท์เดิมคือ crimination หมายถึง การฟ้อง, การกล่าวโทษเมื่อเติม Prefix คือ dis- เป็น discrimination หมายถึง การเลือกที่รักมักที่ชัง, การวิเคราะห์

Which word in each group dose not belong ? (คำใดในแต่ละกลุ่มที่ไม่เข้าพวก)
71. (1) entrepreneur
(2) lender
(3) borrower
(4) microlending
ตอบ 4 (การให้กู้เงินรายย่อย) 1. เจ้าของกิจการ 2.ผู้ให้กู้ 3. ผู้ขอกู้

72. (1) urban
(2) international
(3) globalization
(4) worldwide
ตอบ 1 (ในเมือง) 2.ระหว่างประเทศ 3.โลกาภิวัตน์ 4. ทั่วโลก

73. (1) beeper
(2) cell phone
(3) post
(4) telecommuting
ตอบ 3 (งาน) 1. เครื่องเพจเจอร์ 2. โทรศัพท์มือถือ 4. การโทรคมนาคม

Matching Word with Definition (จงจับคู่คำกับความหายของมัน)
74. the thinking of and producing of something for the first time
(1) income
(2) invention
(3) founded
(4) machine
ถาม การคิดและการผลิตบางอย่างขึ้นเป้นครั้งแรก
ตอบ 2 (การประดิษฐ์คิดค้น) 1.รายได้ 3. ก่อตั้ง 4. เครื่องจักร

75. Put money on into a business in the hopes of making a profit.
(1) invest
(2) survive
(3) salary
(4) profit
ถาม ใส่เงินลงทุนเข้าไปในธุรกิจหนึ่งโดยมีความหวังในเรื่องการทำกำไร
ตอบ 1 (การลงทุน) 2. มีชีวิตอยู่ 3. เวินเดือน 4.ผลกำไร

76. forecast
(1) predict
(2) learn and memory
(3) rearrange
(4) recruit
ถาม พยากรณ์, ทำนาย
ตอบ 1 (ทำนาย) 2.เรียนรู้และจดจำ 3. จัดเรียงใหม่ 4. รับสมัคร

77. reduce
(1) restore
(2) decrease
(3) repair
(4) rearrange
ถาม ลดลง
ตอบ 2 (ลงลง) 1.ทำให้กลับมาดีดังเดิม 3. ซ่อมแซม 4.จัดเรียงใหม่

78.majority
(1) larger number
(2) total number
(3) less number
(4) missing number
ถาม ส่วนใหญ่
ตอบ 1 (จำนวนที่มากขึ้น) 2. จำนวนรวม 3. จำนวนที่น้อยลง 4.จำนวนที่หายไป

79. rich
(1) affluent
(2) more
(3) poor
(4) less
ถาม ที่ร่ำรวย
ตอบ 1 (ที่มั่งคั่ง) 2. มากขึ้น 3. ที่ยากจน 4.น้อยลง

80. A list of what is most important.
(1) preparation
(2) period
(3) prospects
(4) priority
ถาม รายการของสิ่งที่มีความสำคัญมากที่สุด
ตอบ 4 (ตามลำดับก่อนหลัง)
1. การเตรียมพร้อม
2.ระยะเวลา
3. โอกาส, ความหวังในภายหน้า

ART1003 ศิลปะวิจักษณ์ การสอบไล่ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551

การสอบไล่ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551

ข้อสอบกระบวนวิชา ART 1003 ศิลปะวิจักษณ์

คำสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว

1.         ข้อใดคือหลักสำคัญของสุนทรียภาพ 

(1) ความมีระเบียบ

(2) ความประสานกลมกลืน    

(3) ความงาม  

(4) ถูกทุกข้อ

ตอบ 4 หน้า 88 – 89 (S) หลักสำคัญของ สุนทรียภาพ” หรือการรู้คุณค่าในความงามนั้นมีอยู่ 3 ประการ คือ 1. ความมีระเบียบ (Order) 2. ความประสานกลมกลืน (Harmony) 3. ความงาม (Beauty)

2.         ศิลปะภาพพิมพ์มีลักษณะตามข้อใด 

(1) เขียนเป็นลายเส้น

(2) ระบายด้วยสีเอกรงค์        

(3) กดหรือประทับจากแม่พิมพ์          

(4) เขียนแล้วนำมาปะติด

ตอบ 3 หน้า 97 (ร) ศิลปะภาพพิมพ์ (Graphic Arts) มาจากภาษาลาตินว่า “Premere” ซึ่งแปลว่าการกดให้ติด” หมายถึง การสร้างรูปหรือเครื่องหมายลงบนวัสดุผิวราบใด ๆ ด้วยวิธีการกด หรือประทับจากแม่พิมพ์ ซึ่งเป็นงานศิลปะที่มีผิวพื้นแบนราบ มีลักษณะ 2 มิติ มีความกว้าง และความยาว โดยปราศจากความหนาหรือความลึก

3.         ข้อใดคืองานประติมากรรม    

(1) ผ้าลายนํ้าไหลจากเมืองน่าน

(2) วีนัส วีเลนดอร์ฟ   

(3) ภาพหญิงสาวส่องกระจกของปิกาสโซ     

(4) พีระมิด

ตอบ 2 หน้า 51 ประติมากรรมที่ทำขึ้นครั้งแรกของคนสมัยก่อนประวัติสาสตร์จะมีลักษณะกลม และสรีระส่วนต่าง ๆ ได้ขยายออกจนผิดความจริง แสดงว่าประติมากรรมที่ทำขึ้นมานี้ มีความเกี่ยวข้องกับความอุดมสมบูรณ์ เช่น พบประติมากรรมลอยตัวที่ประเทศเยอรมัน คือ วีนัส วีเลนดอร์ฟ (Venus of Willendorf) ซึ่งเป็นเทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์

4.         ข้อใดคืองานนิเทศศิลป์           

(1) การออกแบบลายผ้า

(2) ลายกระเบื้องเคลือบ         (3) เครื่องปั้นดินเผา     (4) ถูกทุกข้อ

ตอบ 4 หน้า 102 – 103 (S) งานนิเทศศิลป์ได้เข้าไปเกี่ยวข้องกับวงการธุรกิจและการโฆษณา เช่น การออกแบบหนังสือเด็ก การออกแบบเครื่องหมายสัญลักษณ์ การออกแบบลายผ้า ลายกระเบื้องเคลือบ ตลอดจนการลอกแบบผลิตภัณฑ์จำพวกเครื่องปั้นดินเผา ฯลฯ

5.         ข้อใดคือสัญลักษณ์ของความดีงามที่ศิลปินไทยในสมัยโบราณได้ปรุงแต่งขึ้นในงานจิตรกรรมฝาผนัง

(1)       ครุฑ     (2) เทพยดา     (3) อสูร            (4) คชสีห์

ตอบ 2 หน้า 44 (S) งานจิตรกรรมฝาผนังของศิลปินไทยในสมัยโบราณ มักจะสร้างสิ่งสมมุติเพื่อเป็นสัญลักษณ์ เช่น การเขียนภาพพระพุทธเจ้าขึ้นใหม่เพื่อแทนความหมายของนิพพานการเขียนรูปยักษ์มาร อสูรหรือปิศาจแทนความหมายของอวิชชาหรือสิ่งชั่วร้าย,การเขียนรูปเทพยดา เทวดา นางฟ้า แทนความหมายของความดีงาม ฯลฯ

6.         ศิลปกรรมของเชื้อชาติใดมีลักษณะศิลปะอนารยะ

(1)       จีน       (2) อินโดนีเซีย (3) หมู่เกาะทะเลใต้     (4) อินเดีย

ตอบ 3 หน้า 114 (S) ศิลปะอนารยะ เป็นศิลปะของชนชาติที่ยังไมเจริญในยุคปัจจุบัน เช่น ในบางพื้นที่ของทวีปแอฟริกา และดินแดนหมู่เกาะทะเลใต้ ฯลฯ

7.         จุดมุ่งหมายของการสร้างงานสถาปัตยกรรมอียิปต์เพื่อสิ่งใด

(1)       พระผู้เป็นเจ้า   (2) วีรบุรุษ       (3) คนที่ตายไปแล้ว     (4) ตอบแทนบุญคุณธรรมชาติ

ตอบ 3 หน้า 116 (S) สถาปัตยกรรมของอาณาจักรอียิปต์ มีจุดมุ่งหมายในการสร้างขึ้นเพื่อคนที่ตาย ไปแล้ว โดยผู้คนที่ยังมีชีวิตอยู่ไม่สามารถใช้ประโยชน์จากสถาปัตยกรรมนั้นได้ เช่น การสร้างมัสตาบา และพีระมิด ซึ่งแบ่งเป็นห้องต่าง ๆ ตามความต้องการของฟาโรห์

8.         ประติมากรรมศิลปะอียิปต์มีลักษณะอย่างไร

(1)       ชอบสลักรูปหิน            (2) ชอบแกะหินอ่อนสีชมพูเข้ม

(3) เป็นแท่งหินสี่เหลี่ยม ทึบตัน           (4) นิยมทำรูปปูนปั้น

ตอบ 3 หน้า 115 (S) ประติมากรรมของอียิปต์จะเน้นความงามด้านหน้า หรือมีลักษณะมองตรงไป ข้างหน้า แนวคางจะขนานกับเส้นพื้น ไม่ก้มไม่เงยหน้า ให้ความรู้สึกมั่นคงทึบตัน ไม่นิยมเน้นกล้ามเนื้อ ชอบตกแต่งด้วยแก้วหินสี โดยบางส่วนจะทาสีและปิดทองประดับประดาอย่างแวววาว ตระการตา อีกทั้งยังชอบถ่ายทอดรูปมนุษย์กับสัตว์อันเป็นสัญลักษณ์ของเทพเจ้าที่เคารพบูชา

9.         งานจิตรกรรมศิลปะอียิปต์แสดงออกซึ่งความงดงามอย่างไร

(1)       รูปคนมักสลับด้านกัน  (2) ไม่ได้คำนึงถึงลักษณะธรรมชาติ

(3) แสดงภาพใกล้ไกลด้วยวิธีซ้อนทับกัน        (4) ถูกทุกข้อ

ตอบ 4 หน้า 118 (S) งานจิตรกรรมรูปคนของศิลปะอียิปต์มักจะสลับด้านกัน โดยไม่ได้คำนึงถึง ลักษณะตามธรรมชาติ เช่น เขียนส่วนหัวและท่อนขาจนถึงเท้าเป็นรูปด้านข้าง เขียนตาและ ทรวงอกเป็นรูปด้านหน้า ฯลฯ นอกจากนี้ยังนิยมแสดงภาพใกล้ไกลด้วยวิธีซ้อนทับกัน เช่น จิตรกรรมฝาผนังกลุ่มนางร้องไห้ในสุสานของราโมเซส เป็นต้น

10.       ชนเผ่าใดในอาณาจักรแอสซีเรียนเป็นช่างฝีมือที่ชำนาญในการออกแบบลวดลายพรม

(1)       เปอร์เซียน        (2) แสสซาเนียน          (3)       อเคเมเนียน      (4)       อินเดีย

ตอบ 1 หน้า 119 – 120 (S) ชาวเปอร์เซียนที่อยู่ทางตอนใต้ของอาณาจักรแอสซีเรียน เป็นช่างฝีมือ ที่มีความชำนาญในการถักทอ ออกแบบลวดลายพรม และเครื่องโลหะต่าง ๆ เช่น ทองคำ เงิน โดยนำมาออกแบบเป็นเครื่องประดับตกแต่งร่างกาย และสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโลหะ

11.       ชนชาติใดได้แสดงออกทางศิลปกรรมอย่างมีเหตุผลและมีหลักเกณฑ์

(1)       อียิปต์  

(2) ซิมิติกส์      

(3)       กรีก     

(4)       เปอร์เซียน

ตอบ 3 หน้า 120 (S) ศิลปะกรีกเปรียบเสมือนจุดเริ่มต้นของอารยธรรมตะวันตกที่แสดงออกทาง ศิลปกรรมอย่างมีเหตุผล ไม่ได้มุ่งสนองความเชื่อในอำนาจวิญญาณใด ๆ เชื่อในการค้นคว้า หาความจริงอย่างมีหลักเกณฑ์ อีกทั้งยังเคารพในกฎเกณฑ์ของธรรมชาติที่มีความงาม เพี่อช่วยกล่อมเกลาพัฒนารสนิยมของมวลมนุษย์

12. วัสดุประเภทใดได้ปรากฎอยู่ในโครงสร้างของงานประติมากรรมศิลปะกรีก

(1)       อิฐ        

(2) ปูนปั้น        

(3)       หินอ่อน            

(4)       ศิลาแลง

ตอบ 3 หน้า 121 (S)124 (S) งานประติมากรรมของศิลปะกรีกนอกจากจะมีความสามารถสูงในการแกะสลักวัสดุจำพวกหินต่าง ๆ และไม้แล้ว ยังนิยมใช้โลหะหล่อเป็นประติมากรรมอีกด้วย เช่น ประติมากรรมบนเงินเหรียญ นอกจากนี้ในงานสถาปัตยกรรมก็นิยมใช้หินอ่อนเนื้อละเอียด เป็นวัสดุในการถ่อสร้างวิหารด้วยเช่นกัน

13.       เสาแบบไอโอนิกของกรีก มีความงามในรูปทรงอย่างไร

(1) ป้อม มีร่องคม        

(2) สูงชะลูด หัวเสาเป็นรูปก้นหอย

(3) บาง แต่งหัวเสารูปกามเทพแบกพวงมาลัย            

(4) ใหญ่โต หัวเสาเป็นดอกปาปิรัส

ตอบ 2 หน้า 121 – 122 (S) วิหารกรีกจะมีการออกแบบตกแต่งรูปทรงของเสาเป็น 3 ลักษณะ คือ

1.         แบบดอริก จะมีลักษณะใหญ่ รูปทรงป้อม มีรองขนานกัน

2.         แบบ ไอโอนิก จะมีรูปทรงสูงชะลูด หัวเสาตกแต่งเป็นรูปวงก้นหอย มีร่องเสามากกว่าแบบดอริก

3.         แบบโครินเธียน จะมีรูปทรงบางกว่าแบบไอโอนิก ตกแต่งหัวเสาด้วยใบพืชคล้ายกับผักกาด

14.       ข้อใดคือความงามของประติมากรรมศิลปะกรีก

(1) ดวงตาใหญ่มาก มองตรงไปข้างหน้า         (2) คำนึงถึงประโยชน์ใช้สอยมากกว่าความงาม

(3) เน้นความงามของรูปทรง   (4) มีปริมาตรใหญ่โต ทึบตัน

ตอบ 3 หน้า 123 – 124 (S) ศิลปกรรมกรีกในสมัยหลังจะนิยมสร้างประติมากรรมตามเทพนิยายและชีวิตจริง โดยแสดงกายวิภาคของมนุษย์และสัตว์อย่างชัดเจน เปิดเผยและเน้นความงามของ รูปทรงอย่างบริสุทธิ์โดยปราศจากเครืองนุ่งห่ม และแสดงความอ่อนหวานอย่างมีชีวิตจิตใจ มากกว่ารูปประติมากรรมในระยะแรก เช่น รูปปั้นวินัส เดอ ไมโล (Venus De Miio)ซึ่งถือเป็นผลงานชั้นเยี่ยมของกรีกที่มีความงามเป็นเลิศ

15.       วีนัส เดอ ไมโล เป็นผลงานประติมากรรมชั้นเยี่ยมของศิลปะใด

(1)       บาบิโลเนียน   (2) แอสซีเรียน (3) กรีก            (4) โรมัน

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 14. ประกอบ

16.       เอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมในศิลปะโรมันมีลักษณะอย่างไร         

(1) รูปทรงเรียบง่าย

(2)       เป็นที่สถิตของเทพเจ้า            (3) รับใช้มวลชนในสังคม        (4) เบาลอย สอบเข้าข้างบน

ตอบ 1 หน้า 126 – 127 (S) สถาปัตยกรรมของศิลปะโรมันจะมีลักษณะทึบตัน ใหญ่โต มั่นคงแข็งแรง และมีการจัดวางผังเมืองอย่างเป็นระเบียบสวยงาม นอกจากนี้ยังมีโครงสร้างและ รูปทรงแบบเรียบง่ายโดยไม่ประดับตกแต่งมากนัก ซึ่งถือเป็นการแสดงออกในลักษณะที่เป็น เอกลักษณ์ของตนเอง

17.       จิตรกรรมในสมัยโบราณสมัยก่อนประวัติศาสตร์

(1)       เราพบทั่วไปในแหล่งที่ทำการขุดค้น   (2) เราพบตามผนังถํ้า เพดานถ้ำ

(3)       เราพบตามหุบเขา แหล่งที่อยู่อาศัยของคนทั่วไป (4) เราพบในภาพวาดบนแผ่นจารึก

ตอบ 2 หน้า 49 – 51 จิตรกรรมในสมัยโบราณก่อนประวัติศาสตร์มักพบตามถ้ำ เช่น ตามผนังถ้ำ และเพดานถาที่อยู่ลึกจากปากถํ้าเข้าไป บางครั้งจึงเรียกว่า ศิลปะถ้ำ” โดยถ้ำแรกสุดที่พบ จิตรกรรมภาพเขียนของคนก่อนประวัติศาสตร์ คือ ถํ้า Allaimra ที่อยู่ทางตอนเหนือของสเปน โดยพบภาพเขียนเป็นภาพกวางตัวเมีย ส่วนที่ถํ้า Laussel ในฝรั่งเศส ได้พบภาพเขียนเป็น ภาพสัตว์ เช่น รูปม้า วัวไบซัน และกวาง           

18.       จิตรกรรมผนังถ้ำที่เก่าที่สุดเราพบที่   

(1) ทางตอนเหนือของสเปน

(2)       ทางตอนใต้ของสเปน  (3) ทางตอนเหนือของฝรั่งเศส (4) ทางตอนใต้ของฝรั่งเศส

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 17. ประกอบ

19.       ศิลปะในข้อใดเป็นผลงานสูงสุดของมนุษย์

(1) ศาสนศิลปะ           (2) ศิลปะพื้นบ้าน        (3) ศิลปะถ้ำ    (4) ศิลปะบนหน้าผา

ตอบ 1 หน้า 4 (S)12 (S) ศาสนศิลปะ (Religious Art) หรืองานศิลปกรรมในลัทธิความเชื่อถือ และศาสนา ถือเป็นงานสร้างสรรค์ที่เหนือกว่างานสร้างสรรค์ด้านอื่น ๆ เพราะเป็นงานศิลปะ ที่เกิดจากความซาบซึ้งทางพุทธิปัญญา (Intellectual Appreciation) ที่มีคุณค่าเหนือกว่าศิลปะ ทั้งหลายที่มนุษย์ได้สร้างขึ้น เช่น ประติมากรรมพระพุทธรูป ภาพเขียนพุทธประวัติ หรือศาสนสถานที่สร้างขึ้นเพื่อการบูชาต่าง ๆ เป็นต้น

20.       ข้อใดเกี่ยวข้องกับความซาบซึ้งทางพุทธิปัญญา       

(1) ประติมากรรมศิลปะสุโขทัย

(2)       ภาพเขียนรูบดอกกุหลาบ

(3) ภาพเหมือนของพอล โกแกง

(4) ภาพสลักบานประตูลายพันธ์พฤกษ์

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 19. ประกอบ

21.       ข้อใดคือจุดมุ่งหมายของการเรียนวิชาศิลปะวิจักษณ์

(1) รู้คุณค่าของศิลปกรรม

(2)       วาดรูปได้ยอดเยี่ยม     

(3) รสนิยมทันสมัย      

(4) เข้าใจธรรมชาติ

ตอบ 1 หน้า 3 จุดมุ่งหมายในการเรียนวิชาศิลปะวิจักษณ์ คือ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและพิจารณา งานศิลปะอย่างมีเหตุผล ตลอดจนเข้าใจประวัติความเป็นมาจนสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ งานศิลปะได้ กล่าวคือ เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งสวยง พื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เกิด ทัศนคติที่ดี รู้จักคุณค่าของศิลปกรรม และยังเป็นการเสริมสร้างความรู้ความเข้าไจ อย่างมีหลักการจนสามารถรู้วิธีการเบื้องต้นในการอนุรักษ์ศิลปกรรมของชาติได้

22.       ความรู้สึกทางด้านความงามของมนุษย์เกิดขึ้นเมื่อใด

(1) พร้อมกับมนุษย์      

(2)       ยุคหินเก่า        

(3) ยุคหินใหม่  

(4) มีการก่อสร้างเทวาลัย

ตอบ 1 หน้า 1 (S) ความรู้สึกทางด้านความงาม นับเป็นธรรมชาติของมนุษย์ทุกคนที่มีติดตัวมาแตกำเนิด เพียงแต่จะมีความแตกต่างกันในด้านการแสดงออกเท่านั้น จึงเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า จุดเริ่มต้นของศิลปะได้กำเนิดขนมาพร้อมกับมนุษย์

23.       ความซาบซึ้งทางสุนทรียรสเกียวข้องกับข้อใด

(1) ความรัก     

(2)       ความดี 

(3) ความงาม   

(4) ความเชื่อถือ

ตอบ 3 หน้า 3 (S)12 – 13 (ร) สุนทรียรสหรือรสของศิลปะจะก่อให้เกิดความรู้สึกซาบซึ้งในสุนทรียภาพ หรือความงามของศิลปะ ซึ่งนับเป็นความเข้าใจที่สำคัญยิ่งของมนุษย์ต่อสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว โดย มีสิ่งสำคัญ 2 ประการ คือ 1. ความซาบซึ้งทางอารมณ์ 2. ความซาบซึ้งทางพุทธิปัญญา

24.       ศิลปะประยุกต์มีจุดมุ่งหมายตามข้อใด

(1) สร้างความศรัทธา  (2)       ประโยชน์ใช้สอย         (3) ให้ความสนุกสนาน            (4) ให้ความสงบ

ตอบ 2 หน้า 8 – 93 – 4 (S) ศิลปะประยุกต์ (Applied Art) คือ งานศิลปะที่ผู้สร้างตั้งใจสร้างหรือ ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อประโยชน์ใช้สอยอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยเป็นการรู้จักนำเอาศิลปะมา ดัดแปลงให้เป็นประโยชน์แก่ชีวิตประจำวัน ซึ่งถือเป็นประโยชน์สุขทางกายของมนุษย์ เช่น เครื่องประดับ เครื่องจักร ผ้า เครื่องหนัง เครื่องเคลือบ และเครื่องใช้สอยต่าง ๆ เป็นต้น

25.       เยาวชนที่คุ้นเคยกับศิลปกรรมอันงดงามจะมีลักษณะอย่างไร

(1) กล้าหาญอดทน     (2)       มีทักษะในการติดต่อ (3) มีความคิดอ่านสุขุม  (4) ก้าวร้าว รุนแรง

ตอบ 3 หน้า 21 (S) ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ได้ให้ข้อคิดว่า เด็กที่คุ้นเคยกับงานศิลปะหรือได้ พบเห็นสิ่งประณีตสวยงามนั้น ต่อไปในอนาคตก็จะกลายเป็นของจำเป็นต่อชีวิตของเด็ก เพราะจะช่วยให้มีความคิดอ่านประณีตสุขุม นอกจากนี้ศิลปะก็ยังช่วยให้เยาวชนของชาติ กลายเป็นคนดีขึ้น และประพฤติปฏิบัติไปตามกฎแห่งศีลธรรม

26.       ข้อใดไม่ถูกต้อง

(1)       ศิลปะช่วยอบรมจิตใจของเราได้         (2) งานศิลปะมาจากสิ่งอกุศลหรือทุศีลก็ได้

(3)       ศิลปะเป็นสมบัติส่วนบุคศล    (4) เข้าใจศิลปะต้องเข้าใจธรรมชาติ

ตอบ 3 หน้า 6 (S)21 (S)85 (S), (ดูคำอธิบายข้อ 25. ประกอบ) การเข้าใจศิลปะจะต้องเข้าใจธรรมชาติ ซึ่งศิลปินอาจแสดงออกมาจากสิ่งที่เป็นกุศลหรืออกุศล (ทุศีล) ก็ได้ ดังนั้นผลงานทางศิลปะ จึงไม่ได้จำกัดอยู่ในวงแคบ ๆ และไม่ได้แบ่งแยกความแตกต่างของเชื้อชาติ ภาษา ผิวพรรณ หรือหน้าตา แต่ศิลปะมีความเป็นกลางหรือเป็นสากล อันเป็นสมบัติที่น่าภูมิใจของมวลชนทั่วโลก

27.       การแสดงออกด้วยการตัดทอนคืออะไร          

(1) ภาพเหมือนจริง

(2)       ไม่ลอกเลียนธรรมชาติทั้งหมด            (3) ภาพในชีวิตประจำวัน        (4) ลอกเลียนธรรมชาติ

ตอบ 2 หน้า 37 (S) การแสดงออกด้วยการตัดทอน (Distortion) เป็นการแสดงออกที่ศิลปินจะไม่ลอกเลียนธรรมชาติทั้งเหมด แต่จะเน้นเฉพาะส่วนสำคัญหรือจุดเด่นที่ก่อให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจ ส่วนที่รองลงมาหรือไม่น่าสนใจก็จะตัดทิ้งออกไปโดยไม่ถ่ายทอดออกมาให้เห็น

28.       ข้อใดไม่ใช่วิจิตรศิลป์

(1) จิตรกรรม   (2) ประติมากรรม        (3) ภาพถ่าย    (4) สถาปัตยกรรม

ตอบ 3 หน้า 8 วิจิตรศิลป์ (Fine Art) หมายถึง จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรมวรรณศิลป์ และดุริยางคศิลป์ ซึ่งเกิดขึ้นจากแรงบันดาลใจของธรรมชาติ จนส่งเสริมให้ศิลปิน เกิดความคิดสร้างสรรค์ในงานศิลปะ เป็นศิลปกรรมที่ทำขึ้นจากความสัมพันธ์กันอย่างประณีต ของเส้นและมวลสิ่งหรือสิ่งที่มีความผสมกลมกลืนกันอย่างงดงาม

29.       ข้อใดคือการถ่ายทอดตามความรู้สึก

(1)       นามธรรม         (2)       เหมือนจริง       (3)       ตัดทอน            (4) ลายเส้น

ตอบ1  หน้า 1138 – 39 (S)57 – 58 (S)221 ศิลปะนามธรรม เป็นการถ่ายทอดตามความรู้สึก(Abstraction) หรือการแสดงออกในลักษณะนามธรรม ซึ่งนำเอารูปทรงต่าง ๆ ที่พบเห็นใน ธรรมชาติมาจัดเสียใหม่ โดยจัดองค์ประกอบของภาพอย่างอิสระ มีการใช้สีสันที่แสดงถึงความ มีอิสระเสรีทางอารมณ์ ตลอดจนการสร้างรูปทรงที่แปลกใหม่ไม่เหมือนธรรมชาติ เพื่อเป็นสื่อนำจิตใจให้เกิดความรู้สึกคล้อยตาม เช่น รูป หญิงสาวกำลังร้องไห้” ของปิกาสโซ เป็นต้น

30.       รูป หญิงสาวกำลังร้องไห้” ของปิกาสโซ เป็นศิลปกรรมตามข้อใด

(1) เหมือนจริง (2)       นามธรรม         (3)       ประทับใจ        (4) ป๊อบ

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 29. ประกอบ

31.       จินตนาการของช่างเขียนไทยในเรื่องไตรภูมิพระร่วงเกี่ยวข้องกับสิ่งใด

(1)       ความงามของเมือง      

(2)       นรกสวรรค์       

(3)       การนับถือศาสนา        

(4) ประวัติศาสตร์

ตอบ2 หน้า 155 ความเชื่อเรื่องนรกและสวรรค์ได้มีอิทธิพลต่อจินตนาการของช่างเขียนสมุดภาพไตรภูมิพระร่วงมาก แต่จากลักษณะของบุคคลในภาพแสดงให้เห็นว่าช่างมีอิสระทางความคิด ทำให้องค์ประกอบและการเขียนยังไม่ถูกต้องกับระบบแบบแผน เช่น เรื่องของนรกก็เป็น ความคิดส่วนตัวของช่างที่แสดงออก ดังนั้นจึงทำให้ภาพวาดมีความสวยงามและมีชีวิตจิตใจ

32.       ข้อใดคือการแสดงออกตามความเป็นจริง      

(1) ภาพหุ่นนิ่งดอกพุทธรักษา

(2)       ภาพปูนปั้นเทพธิดา    

(3) ภาพผู้คนแออัดกันในนรก  

(4) ลายเส้นจากจินตนาการ

ตอบ 1 หน้า 36 (S) การแสดงออกตามความเป็นจริง (Realism) เป็นการเปิดเผยสภาพความจริงจาก ธรรมชาติและสังคม โดยศิลปินจะแสดงความรู้สึกต่าง ๆ ตามความเข้าใจและความต้องการ เช่น ภาพวาดด้านประวัติศาสตร์ ภาพเหมือนจริงหรือหุนนิ่งที่ถอดแบบมาจากธรรมชาติอย่างชัดเจน ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวชีวิตจริงของคน ชีวิตการทำงาน ความยากจน ฯลฯ

33.       ภาพสามมิติมีลักษณะอย่างไร

(1) แบนราบ    

(2) มีความลึกในภาพ

(3)       เส้นคมกริบดังคมมีด   

(4) รูปทรงเป็นสี่เหลี่ยมคางหมู

ตอบ 2 หน้า 41221 – 222 ภาพสามมิติได้แบบอย่างการเขียนมาจากศิลปะตะวันตก ดังนั้นจึงมี ลักษณะเป็นภาพที่มีความลึกและประกอบไปด้วยสี เส้น และเงา ผิดกับภาพเขียนของศิลปะ ตะวันออกที่มักจะประกอบไปด้วยสีและเส้นเท่านั้น ท่าให้ภาพเขียนมีลักษณะเป็นรูปแบน ๆ หรือเป็นภาพสองมิติที่ไม่มีความลึก

34.       แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ศิลปะคืออะไร

(1) ธรรมชาติ   (2) ศาสนา       (3) สังคม การปกดรอง            (4) ถูกทุกข้อ

ตอบ 4 หน้า 91941 (S) แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ศิลปะไมใช่มาจากธรรมชาติแต่เพียงอย่าง เดียวเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับปัจจัยอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น ศาสนา ความเชื่อถือ ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ เชื้อชาติ สังคม การปกครอง และวัสดุที่ใช้ในการสร้าง ฯลฯ

35.       งานจิตรกรรมฝาผนังไทยมีลักษณะตามข้อใด

(1) ภาพสามมิติ           (2) มีระยะใกล้และไกล (3) ภาพสองมิติ         (4) เขียนซ้อนกันขึ้นไปเป็นชั้น ๆ

ตอบ 3 ดูคำอธิบาย1ข้อ 33. ประกอบ

36.       เส้นที่ดูเหมือนถูกตัดด้วยคมมีดในผลงานของปิกาสโซ ได้ความรู้สึกอย่างไร

(1) ความกลัว  (2) ความดีงาม            (3) ความสง่างาม        (4) ความรุนแรง

ตอบ 4 หน้า 53 – 54 (S) เส้นที่ปิกาสโซนำมาใช้ในภาพเกร์นิกานั้น มีลักษณะตรงซึ่งบอกถึงความ แข็งกร้าวเป็นส่วนใหญ่ แม้จะมีเส้นโค้งอยู่บ้างแต่ก็ดูแข็งแรงเหมือนเส้นที่ถูกตัดด้วยมีดคม โดยเส้นต่าง ๆ ที่มารวมกันเข้าในลักษณะพุ่งตัดเป็นกากบาทนี้ทำให้ภาพดูสับสน ยุ่งเหยิง และเป็นภาพความรุนแรงแห่งสงครามที่ทุกคนไม่ปรารถนาจะได้พบ

37.       เส้นที่ให้ความรู้สึกมั่นคง จริงจัง คือข้อใด

(1)       เส้นตั้ง (2) เส้นซิกแซ็ก            (3) เส้นเฉียง    (4) เส้นนอน

ตอบ 1 หน้า 2651 – 53 (S) ศิลปินจะต้องรู้จักนำเส้นต่าง ๆ มาใช้ให้เหมาะสมกับหน้าที่ เช่น เส้นตั้ง จะให้ความรู้สึกมั่นคง จริงจังเส้นซิกแซ็ก จะให้ความรู้สึกไม่หยุดนิ่ง ตื่นเต้น,เส้นเฉียง จะให้ความรู้สึกรวดเร็วเส้นนอน จะให้ความรู้สึกสงบ นิ่งเฉย ผ่อนคลาย,เส้นโค้งลงสู่พื้น จะให้ความรู้สึกเศร้า เหนื่อยหน่าย ฯลฯ

38.       ถ้าผู้วาดภาพขาดชีวิตจิตใจ ภาพนั้นจะดูเศร้า หากใช้เส้นในการแสดงออก หมายถึงเส้นที่มีลักษณะอย่างไร

(1) เส้นตั้งตัดกัน          (2) เส้นโค้งเป็นวงกลม

(3)       เส้นเฉียงเป็นรูปกรวย  (4) เส้นโค้งลงสู่พื้น

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 37. ประกอบ

39.       เส้น” ในศิลปกรรมไทย ศิลปินได้รับแรงบันดาลใจจากอะไร

(1)       ความสำนึกบาป          (2) ความเชื่อในเทพเจ้า           (3) ธรรมชาติ   (4)       สงคราม

ตอบ 3 หน้า 54 (Sเส้น” ในศิลปกรรมไทยนั้น ช่างไทยได้นำมาออกแบบเป็นลายไทย ลายกนก ให้เป็นศิลปะประจำชาติ ซึ่งลายไทยต่าง ๆ เหล่านี้ศิลปินได้รับแรงบันดาลใจจากธรรมชาติและได้คิดค้นปรับปรุงให้เหมาะสมกับองค์ประกอบของงานศิลปะในแบบไทย

40.       ค่าของความแตกต่างที่เกิดจากแสงและเงาคืออะไร

(1) ความเข้ม   (2) จุด  (3)       รูปร่าง  (4)       รูปทรง

ตอบ 1 หน้า 56 (S) ความเข้ม (Value) หมายถึง ค่าของความแตกต่างที่เกิดจากแสงและเงา ซึ่งคุณค่าของแสงและเงาจะช่วยให้งานศิลปะมีลักษณะเป็นแท่งหรือเป็นกลุ่มก้อน จน ทำให้เกิดเป็นภาพ 3 มิติขึ้น และก่อให้เกิดความงามในทางศิลปะ

41.       รูปทรงที่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอนและมีโครงสร้างคือข้อใด

(1) เรขาคณิต  

(2) อินทรียรูป  

(3)       อิสระ   

(4)       ถูกทุกข้อ

ตอบ 2 หน้า 60 (S) รูปทรง (Form) แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ  

1. อินทรียรูป คือ รูปทรงที่มีชีวิต มีกฎเกณฑ์แน่นอน และมีโครงสร้าง

2.         รูปทรงเรขาคณิต คือ รูปทรงที่เกิดจากการสร้างของมนุษย์ให้เกิดเป็นเส้นตรง เป็นรูปมี เหลี่ยมมุม รูปวงกลม รวมถึงการตกแต่งด้วยแบบลายเส้นในการจักสานตะกร้า กระบุง และลายในการถักทอ ฯลฯ

3.         รูปทรงอิสระ คือ รูปทรงที่ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว และไมมีโครงสร้าง

42.       ข้อใดเกี่ยวข้องกับรูปทรงเรขาคณิต   

(1) ชะลอมไม้ไผ่

(2)       ตะกร้าหวายลายดอกพิกุล     

(3) ภาพเหมือนของดอกตะแบก          

(4) ถูกข้อ 1 และ 2

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 41. ประกอบ

43.       ศิลปะป๊อบนิยมใช้สีตามข้อใด

(1) สีหวานใส   

(2) สีเย็น         

(3) สีตัดกัน      

(4) สีมืด

ตอบ 3 หน้า 61 (S) ศิลปะป๊อบ (Pop Art) มีลักษณะเกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตของมนุษย์ มีการ ล้อเลียน เยาะเย้ย หรือคัดค้านเรื่องของสุนทรียภาพอยู่บ้าง มีการใช้สีสดใสระบายด้วยเทคนิค ของเส้นรอบนอกหรือขอบคม โดยนิยมใช้สีตัดกัน เช่น นํ้าเงินกับแดง แดงกับเหลือง เป็นต้น

44.       รูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าให้ความรู้สึกแกผู้ชมอย่างไร

(1) เอาจริงเอาจัง         (2) มั่นคง         (3) มีพลังสูง    (4) สนุกสนาน

ตอบ 1 หน้า 62 – 63 (S) รูปทรง (Form) สามารถสื่อความหมายและความรู้สึกได้เช่นเดียวกับวิธีการ ของเส้น กล่าวคือ เมื่อเปลี่ยนเส้นให้เป็นรูปทรงจะสามารถสื่อความหมายได้เช่นเดียวกัน เช่น รูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสให้ความรู้สึกหนักแน่น เข้มแข็ง มั่นคงรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าให้ความรู้สึก ตรงไปตรงมา เป็นกลาง เคร่งขรึม เอาจริงเอาจังรูปทรงสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนให้ความรู้สึก เป็นกลางคล้ายสี่เหลี่ยมผืนผ้า แต่งดงามกว่า เบากว่า และหวานกว่ารูปทรงสี่เหลี่ยมคางหมู ให้ความรู้สึกแปลกใหม่ เก๋ สนุกสนาน ไม่เอาจริงเอาจัง ไม่ค่อยเป็นทางการมากนัก ฯลฯ

45.       ศิลปินจีนโบราณนิยมเขียนภาพด้วยสีอะไร

(1) ดำ  (2) แดง            (3) ม่วง            (4) เขียว

ตอบ 1 หน้า 66 – 67 (S) ชาวจีนได้คิดค้นและนำสีต่าง ๆ มาใช้ย้อมผ้าหรือย้อมด้ายสำหรับทอผ้า แต่จะไม่นิยมเอามาใช้ระบายในภาพเขียน เพราะชาวจีนมีคติการเขียนภาพด้วยหมึกจีน คือ ใช้สีดำแต่เพียงสีเดียว

46.       สีวรรณะเย็นให้าวามรู้สึกแก่ผู้พบเห็นอย่างไร

(1)       ตื่นเต้น เร้าใจ   (2) มีพลังสูง    (3) ผ่อนคลายอารมณ์ (4) สนุกสนาน

ตอบ 3 หน้า 3568 (S) สี (Colour) แบ่งออกเป็น 2 วรรณะ คือ   1. สีวรรณะร้อน เช่น สีเหลือง ส้ม แสด แดง ม่วงแดง แดงชาด เทาอมแดง ฯลฯ จะให้าวามรู้สึกตื่นเต้น รุนแรง ขัดแย้ง และ สนุกสนานร่าเริง 2. สีวรรณะเย็น เช่น สีเขียว เขียวอ่อน เขียวแก่ ม่วงน้ำเงิน คราม น้ำเงิน ฯลฯ จะให้ความรู้สึกสงบ ผ่อนคลายอารมณ์ และเรียบง่าย

47.       ข้อใดคือวรรณะสีร้อน

(1) ม่วงนํ้าเงิน  (2)       คราม   (3)       เขียวมะกอก    (4)       เทาอมแดง

ตอบ 4 ดูดำอธิบายข้อ 46. ประกอบ

48.       ในงานสถาปัตยกรรมนิยมใช้สีอะไรภายในบ้านเรือน

(1)       ชมพู ม่วง แดง (2) ขาว ครีม สีกระสอบ

(3)       เขียวหยก คราม นํ้าเงิน            (4) เหลืองมะนาว แดง ทอง

ตอบ 2 หน้า 70 – 71 (S) งานสถาปัตยกรรมภายในห้านเรือนส่วนใหญ่ มักจะนิยมใช้สีเรียบง่ายและไมสะดุดตาจนเกินไป เพราะจะทำใหไม่รู้สึกเบื่อง่าย เช่น สีขาว สีครีม สีเนื้อ สีกระสอบ และ สีอ่อน ๆ ของวรรณะเย็น ส่วนการใช้สีสด ๆ เพื่อเรียกร้องความสนใจให้สะดุดสายตา มักนิยมใช้ตามอาคารทางธุรกิจ บาร์ ไนต์คลับ ฯลฯ

49.       สีตรงข้ามที่ตัดกันคือข้อใด

(1) แดงส้ม ชมพูหม่น   (2) น้ำตาลทอง ครีม    (3) แดงเข้ม นํ้าเงิน      (4)       ขาว เทา

ตอบ 3 หน้า 3669 (S) สีตรงข้ามหรือสีคู่จะเป็นสีที่ตัดกันอย่างแห้จริง ซึ่งสีบางสีจะเอามาผสมกัน ไม่ได้เพราะสีจะเน่าและไม่สวย โดยสีชนิดนี้มีมากคู่ด้วยกัน เช่น สีเขียวกับสีแดงเลือดนก,สีเหลืองกับสีมวงสีน้ำเงินกับสีส้มสีแดงกับสีเขียวน้ำเงิน ฯลฯ

50.       ความสมดุลที่ไม่เท่ากันมีผลให้งานศิลปะมีลักษณะอย่างไร

(1) มั่นคง น่าศรัทธา    (2) อ่อนหวาน เบาลอย            (3) ก้าวร้าว รุนแรง       (4)       มีเสน่ห์ สนุกขึ้น

ตอบ 4 หน้า 3076 (S) ความสมดุลที่ไม่เท่ากัน เป็นความสมดุลที่มิได้เท่ากันโดยแท้จริงเพราะมีการจัดขนาด รูปร่าง สี รูปทรง ฯลฯ ให้มีความแตกต่างกันทั้งสองข้าง แต่ให้มีลักษณะสมดุล ด้วยตาโดยประมาณ ซึ่งจะส่งผลให้งานศิลปะมีความแปลก มีชีวิตชีวา น่าสนใจ ไมน่าเบื่อหรือจืดชืดตามกฎเกณฑ์ที่วางไว้

51. เพราะเหตุใด ความขัดแย้ง” จึงให้ความงามในศิลปะ  

(1) ดูไม่ซ้ำซาก

(2)       ให้ความรู้สึกลงตัวพอดี           

(3) รู้สึกเกิดความแตกต่างขึ้น  

(4) ถูกทุกข้อ

ตอบ 4 หน้า 79 (S) การรู้จักใช้ความขัดแย้ง” ที่ไม่ขัดกันในการประกอบงานศิลปะ จะทำให้งานมีเสน่ห์ ไม่ขาดรสหรือจืดชืด เพราะการตัดกันจะช่วยให้ดูไม่ซ้ำซาก และรู้สึกเกิดความแตกต่าง แต่ทั้งนี้จะต้องเข้าใจนำความกลมกลืนกับความขัดแย้งมาประกอบกันให้ลงตัว จึงจะเกิดผลงานที่มี ความงามอย่างพอเหมาะพอดี

52.       เทือกเขาวินธัยแบ่งอินเดีย

(1) ให้เป็นอินเดียเหนืออินเดียใต้         

(2) ให้ออกจากประเทศต่าง ๆ ทางตอนเหนือ

(3)       ให้เป็นอินเดียตะวันออกและตะวันตก 

(4) ให้เป็นอินเดียและศรีลังกา

ตอบ 1 หน้า 81 ประเทศอินเดียมีพื้นที่เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยตอนกลางของประเทศจะมีเทือกเขาวินธัย แบ่งอินเดียออกเป็นภาคเหนือและภาคใต้ ซึ่งแต่ก่อนนี้ภาคเหนือจะเรียกว่า แคว้นฮินดูสถาน” ส่วนดินแดนทางภาคใต้จะเรียกว่า แหลมเดคข่านหรือทักษิณบถ

53.       ผลงานของทูลูส โลเทร็ค สะท้อนความรู้สึกอย่างไร

(1) การเมือง    

(2)       ความเมตตาสงสาร      

(3)       ธรรมชาติ         

(4)       บาป

ตอบ 2 หน้า 83 – 84 (S) ผลงานของทูลูส โลเทร็ค จิตรกรชาวฝรั่งเศสในแบบโพสอิมเพรสชันนิสม์ ได้แอบแฝงลักษณะคุณธรรมเอาไว้ในผลงาน โดยเขาได้เลือกหยิบเอาชีวิตตามสถานเริงรมย์ แห่งมองมาร์ตเป็นเรื่องสำคัญในผลงานของเขา ซึ่งบันดาลให้ผู้พบเห็นเกิดความรู้สึกสะเทือนใจ เมตตาสงสาร และสังเวชต่อเหล่าสตรีผู้ไร้ความสุขในสถานเริงรมย์ยามราตรี

54.       ผู้ที่นำพระเวทเข้ามาคือ

(1) พวกเตอร์ก (2)       พวกอารยัน      (3)       พวกดราวิเดียน            (4)       พวกชาวลุ่มแม่นํ้าสินธุ

ตอบ 2 หน้า 90 เมื่อชาวอารยันได้เข้ามายึดครองดินแดนแถบลุ่มแม่นํ้าสินธุและคงคา ก็ได้นำเอา คัมภีร์พระเวทเข้ามาเผยแพร่ในอินเดียด้วย ซึ่งคัมภีร์พระเวทนี้มีอิทธิพลต่อขนบธรรมเนียม ประเพณี คติความเชื่อ ตำนานเก่าแก และนิยายพื้นเมืองของชาวอารยันมาก

55.       อิทธิพลของศิลปะอิหร่านเข้าสู่อินเดีย

(1) 2 ครั้ง         (2)       3 ครั้ง   (3)       4 ครั้ง   (4)       5 ครั้ง

ตอบ1 (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 46) อิหร่านได้เข้ามาครอบครองดินแดนแถบลุ่มแม่นํ้าสินธุ ตั้งแต่ประมาณพุทธกาลจนถึง พ.ศ. 250 ต่อมาในพุทธศตวรรษที่ 17 อิหร่านก็เข้ามามีอำนาจ- เหนืออินเดียอีกครั้งหนึ่ง ดังนั้นอิทธิพลของศิลปะอิหร่านจึงปรากฏในศิลปะอินเดียมาก

56.       อารยธรรมอินเดียสมัยใหม่ เริ่มตั้งแต่อินเดีย

(1) ได้รับอิทธิพลของอารยัน    (2) ได้รับอิทธิพลของอิสลาม

(3)       ได้เข้าสู่ฮินดูยุคกลาง   (4) ตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษแล้ว

ตอบ 4 (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 44) อารยธรรมอินเดียแบ่งได้ดังนี้    1. อารยธรรมแถบลุ่มแม่น้ำสินธุ (ประมาณ 1,500 ปีกอนคริสตกาล) ซึ่งได้แก่ วัฒนธรรมโมเหนโจดาโรและฮารัปปา 2. อารยธรรมอารยัน (ประมาณ 1,000 ปีกอนคริสตกาล)          3. อารยธรรมฮินดูยุคกลาง(ประมาณ พ.ศ. 1313 – 1743)      4. อารยธรรมอิสลาม (ประมาณ พ.ศ. 1743 – 2346)5. อารยธรรมอินเดียสมัยใหม่ (เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2346 ซึ่งเป็นปีที่ตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ จนถึงปัจจุบัน)

57.       ศิลปะอินเดียเป็นศิลปะ

(1) นามธรรม   (2) รูปธรรม      (3) แบบอุดมคติ          (4) ที่สร้างขึ้นจากธรรมชาติ

ตอบ 3 หน้า 84 ศิลปะอินเดียเป็นศิลปะแบบอุดมคติ (Idealistic Art) คือ การอาศัยรูปร่างจาก ธรรมชาติเป็นเกณฑ์ในการสร้างจินตนาการของศิลบิน และการแสดงออกของศิลปินก็มิได้แสดงออกให้ตรงตามธรรมชาติ แต่เป็นไปตามกฎเกณฑ์หรือข้อบังคับของสังคมมากกว่า

58. ชาวอินเดียมีความเชื่อเรื่องเทวโลก           

(1) ผิดแปลกไปจากโลกมนุษย์

(2)       บนสวรรค์มีเพียงพระราชวัง พระมหากษัตริย์ เหมือนโลกมนุษย์

(3)       เหมือนกับโลกมนุษย์ทุกประการ        (4) มีเพียงภูเขาและมหาสมุทรที่เหมือนโลกมนุษย์

ตอบ3 หน้า 83, (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 45) ชาวอินเดียมีความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับโลกสัณฐานหรือเทวโลกว่า มนุษย์โลกและเทวโลกมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ เช่น มีพระมหากษัตริย์ซึ่งก็คือรูปเทวดา มีพระราชวังอันเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ ซึ่งก็คือ เทวาลัยที่สร้างจำลองจากเขาพระสุเมรุ มีมหาสมุทร ภูเขา แม่น้ำ และประชาชน

59.       พระพุทธศาสนาในอินเดียเจริญถึงขีดสุดในสมัย

(1)       พระเจ้าพิมพิสาร          (2)       พระเจ้าอโศก   (3) พระเจ้าโมริยะ        (4) พระเจ้าจันทรคุปต์ที่           2

ตอบ 2 หน้า 90 พระพุทธศาสนาในอินเดียเจริญขึ้นในแคว้นมคธราฐในสมัยของพระเจ้าพิมพิสาร นละเจริญขึ้นถึงขีดสุดในสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราชราวพุทธศตวรรษที่ 3 ดังนั้น ในยุคแรกเริ่มของการทำศิลปกรรมนี้ พระพุทธศาสนาจึงมีบทนาทเป็นอย่างมาก

60.       อาวยธรรมเก่าสุดของอินเดีย

(1) อารยธรรมโมเหนโจดาโรและฮารัปปา

(2) อารยธรรมอารยัน

(3)       อารยธรรมฮินดู

(4) อารยธรรมอิสลาม

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 56. ประกอบ

61. สถาปัตยกรรมรุ่นแรกของอินเดียสร้างด้วย

(1) ไม้และดินเหนียว    

(2)       อิฐปูนสอ          

(3) ไม้  

(4) ดินเหนียว

ตอบ 1 หน้า 90 นักโบราณคดีให้ความเห็นว่า สถาปัตยกรรมในยุคแรกเริ่มของอินเดียนั้นคงจะสร้าง ด้วยดินเหนียวและไม้ซึ่งแตกสลายได้ง่าย ดังนั้นจึงไม่เหลือร่องรอยให้คนรุ่นหลังได้เห็น ทำให้สถาปัตยกรรมและศิลปกรรมที่เหลืออยู่ไมเก่าไปทวาพุทธศตวรรษที่ 3 แม้ว่าพุทธศาสนาจะ เจริญขึ้นในอินเดียตั้งแต่พุทธกาลมาแล้วก็ตาม

62.       ในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชนิยมทำพระพุทธรูป

(1) เป็นรูปลัญลักษณ์  

(2) ลอยตัว       

(3) เหมือนภาพสลักนูนสูง       

(4) เป็นภาพสลักนูนต่ำ

ตอบ 1 หน้า 92 ศิลปะในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชนั้น แม้ว่าช่างอินเดียจะทำศิลปกรรมไว้มากมายแต่ในการสลักภาพนูนสูงแลัว ช่างยังไม่กล้าแสดงรูปพระพุทธเจ้าเป็นภาพบุคคล แต่จะทำเป็นรูปสัญลักษณ์แทนองค์พระพุทธเจ้าในภาพเล่าเริ่งพุทธประวัติหรือชาดกเท่านั้น

63.       ศาสนสถานที่เจาะลึกเข้าไปในภูเขาเป็นผังสี่เหลี่ยมเรียกว่า

(1) ถ้ำวิหาร

(2) ถ้ำเจติยสถาน 

(3) ถ้ำอชันตา  

(4) ถ้ำอโลร่า

ตอบ 1 หน้า 91 ศาสนสถานที่เจาะลึกเข้าไปในภูเขามีอยู่ 2 ลักษณะ คือ

1. ถ้ำวิหาร เป็นศาสนสถานแบบเก่าที่สุด มักมีแผนผังเป็นรูปลี่เหลียมผืนผ้า ภายในทำเป็น ห้องเล็ก ๆ เพื่อเป็นที่พักอาศัยของพระภิกษุ 2. ถ้ำเจดีย์สถาน มักมีแผนผังเป็นรูปไข่ ใช้เป็นที่ชุมนุมของศาสนิกชนเพื่อเคารพบูชา พระพุทธเจ้าเท่านั้น

64.       สถูปที่เมืองสาญจีและภารหุตเป็นสถูปที่      

(1) เลียนแบบจากเนินดิน

(2)       เก่าสุดของอินเดีย       (3) มีส่วนฐานสูงมาก   (4) ถูกข้อ 1 และ 2

ตอบ 4 หน้า 91 – 92 สถูปที่เมืองสาญจีและภารหุตของอินเดีย เป็นสถูปที่สร้างขึ้นตั้งแต่ราว พ.ศ.400 – 550 โดยการเลียนแบบจากเนินดิน องค์สถูปเป็นรูปโอควํ่า สร้างด้วยอิฐหรือหินตั้งอยู่ บนฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสค่อนข้างเตี้ย ดังนั้นจึงถือเป็นสถูปที่เก่าที่สุดและได้เป็นแบบอย่างแก สถูปในสมัยหลังต่อมาทั้งในอินเดียและเอเชียอาคเนย์

65.       พระพุทธรูปในศิลปะอินเดียทำขึ้นครั้งแรกในศิลปะ

(1) อินเดียสมัยโบราณ            (2) คันธารราฐ (3) มธุรา          (4) อมราวดี

ตอบ 2 หน้า 93 พระพุทธรูปอินเดียทำขึ้นครั้งแรกในศิลปะคันธารราฐ (พุทธศตวรรษที่ 6-7)ซึ่งเจริญขึ้นที่ภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย โดยเมื่อพระเจ้ากนิษะกะแห่งเอเชียกลางได้ ยึดดินแดนนี้ในพุทธศตวรรษที่ 6 แล้ว ก็ได้ทรงอุปถัมภ์พุทธศาสนามหายานด้วยการโปรดให้ สร้างรูปเคารพขึ้นเป็นครั้งแรก ซึ่งเชื่อว่าพระพุทธรูปในยุคแรกเริ่มนี้คงทำขึ้นโดยช่างกรีก

66.       พระพุทธรูปอินเดียสมัยใดที่ได้รับอิทธิพลของกรีกและอิหร่าน

(1) ศิลปะอินเดียสมัยโบราณ  (2) ศิลปะคันธารราฐ

(3)       ศิลปะมถุรา     (4) ศิลปะอมราวดี

ตอบ 3 หน้า 95 พระพุทธรูปในสมัยมถุรา นอกจากจะปรากฏมีอิทธิพลของศิลปะกรีกที่ผ่านมาทาง ด้านคันธาระแล้ว ก็ยังปรากฏอิทธิพลของศิลปะอิหร่านที่ผ่านเข้ามาจากการขยายอำนาจของ พระมหากษัตริย์แห่งอิหร่านในราชวงศ์สัสสาเนียนด้วย แต่อิทธิพลของศิลปะกรีกและอิหร่าน ที่ปรากฏออกมาในศิลปะมธุราก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะช่างอินเดียได้พยายามดัดแปลงให้เป็น แบบอย่างของอินเดียโดยแท้

67.       พระพุทธรูปในศิลปะอินเดียที่เจริญขึ้นตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 6-10 ที่มีแบบอย่างเป็นอินเดียอย่างแท้จริง คือศิลปะ

(1) อินเดียสมัยโบราณ            (2) คันธารราฐ (3) มถุรา          (4) อมราวดี

ตอบ 4 หน้า 959799 พระพุทธรูปอินเดียเริ่มเป็นแบบอย่างของศิลปะอินเดียในสมัยมถุรา(พุทธศตวรรษที่ 7-8) แต่ความเป็นอินเดียอย่างแท้จริงและลักษณะของมหาบุรุษปรากฏขึ้น อย่างครบครันในพระพุทธรูปสมัยอมราวดี (พุทธศตวรรษที่ 7-9) ซึ่งถือได้ว่ามีความงาม ตามแบบอินเดียโดยแท้ เพราะไม่เห็นลักษณะของอิทธิพลต่างชาติเลย

68.       ศิลปะคันธารราฐเจริญขึ้นที่ภาคใดของอินเดีย

(1) ตะวันตกของอินเดีย           (2) ตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย

(3) ตะวันออกของอินเดีย         (4) ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 65. ประกอบ

69.       ศิลปะอมราวดีเจริญขึ้นแถบลุ่มแม่น้ำใด

(1) ลุ่มแม่น้ำสินธุ         (2) ลุ่มแม่น้ำคงคา       (3)       ลุ่มแมน้ำยมุนา            (4)       ลุ่มแม่นํ้ากฤษณา

ตอบ4  หน้า 97 ศิลปะอมราวดี (พุทธศตวรรษที่ 7 – 9) เจริญขึ้นทางตอนใต้ของประเทศอินเดีย แถบลุ่มแม่น้ำกฤษณาโดยเฉพาะที่เมืองอมราวดี นาคารชุนิโกณฑะ ชัคคัยยะเปฎะ และโคลิ ภายใต้การอุปถัมภ์ของราชวงศ์สัตตวาหนะ เมื่อประมาณต้นพุทธศตวรรษที่ 6

70.       การยืนเอียงตะโพกของพระพุทธรูปอินเดียเราเห็นครั้งแรกในศิลปะใด

(1) ศิลปะคันธารราฐ   (2) ศิลปะมถุรา            (3)       ศิลปะอมราวดี (4)       ศิลปะคุปตะ

ตอบ 4 หน้า 103 พระพุทธรูปคุปตะมีความงามตามแบบอุดมคติที่ช่างอินเดียยึดตามกฎของลักษณะ มหาบุรุษ แล้วนำมาประยุกต์เข้ากับความนึกคิดของช่างเอง ดังนันพระพุทธรูปจึงมีลักษณะ ไมมีเพศ เป็นกึ่งมนุษย์กึ่งเทวดา มักแสดงเป็นภาพเต็มตัวหันด้านหน้า และยืนตริภังค์ (ยืนเอียงตะโพก) บ้าง ยืนตรงบ้าง

71.       การครองจีวรของพระพุทธรูปมถุรา

(1)       ห่มคลุม จีวรเป็นริ้ว      

(2) ห่มเฉียง เปิดพระอังสาขวา

(3) ห่มเฉียง เปิดพระอังสาซ้าย ไมมีสังฆาฏิ    

(4) ห่มคลุม จีวรเรียบติดกับพระวรกาย

ตอบ 3 หน้า 95 – 96, (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 55) การครองจีวรของพระพุทธรูปมถุรา จะเป็นแบบใหม่ คือ ครองเฉพาะจีวรและสบง โดยไม่ปรากฎว่ามีสังฆาฏิ และมักห่มเฉียง เปิดพระอังสาซ้าย โดยบางครั้งพระพุทธรูปก็จะห่มคลุม ซึ่งคงเลียนแบบมาจากศิลปะคันธารราฐ ส่วนอิทธิพลของศิลปะอิหร่านจะปรากฏชัดในเครื่องแต่งกายของเทวรูปบางองค์ เช่น รูปพระอาทิตย์แต่งกายตามแบบนักรบอิหร่าน ฯลฯ

72.       ศิลปะอิหร่านที่ปรากฏในศิลปะมถุราเราเห็นได้จาก

(1)       พระพักตร์ของพระพุทธรูป       

(2) เครื่องแต่งกายของเทวรูปบางองค์

(3) ริ้วผ้าของพระพุทธรูป         

(4) ขมวดพระเกศาของพระพุทธรูป

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 71. ประกอบ

73.       พระพุทธรูปนาคปรกเริ่มทำครั้งแรกในศิลปะอินเดีย

(1) ศิลปะคันธารราฐ   

(2) ศิลปะมถุรา            

(3) ศิลปะอมราวดี       

(4) ศิลปะคุปตะ

ตอบ 3 หน้า 121 พระพุทธรูปนาคปรกในอินเดียมีกำเนิดครั้งแรกในศิลปะอมราวดี และทำแต่เฉพาะ ในศิลปะอมราวดีเท่านั้น หลังจากนั้นจึงได้ส่งผลต่อไปยังศิลปะลังกาแบบอนุราชปุระ นอกจากนี้ ยังให้อิทธิพลต่อศิลปะคุปตะและหลังคุปตะของอินเดียอีกด้วย

74.       ศิลปะอินเดียเริ่มเสื่อมลงในสมัยใด

(1)       สมัยอมราวดี   (2) สมัยคุปตะ (3) สมัยหลังคุปตะ      (4) สมัยปาละ-เสนะ

ตอบ 3 หน้า 100 – 101109 ศิลปะที่มีความงามสูงสุดในสมัยคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ 9 – 11)ยังคงทำต่อมาอีกจนหมดสมัยของพระเจ้ากุมารคุปต์ในพุทธศตวรรษที่ 12 หลังจากนั้นเมื่อ เริ่มเข้าสู่สมัยหลังคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ 12 – 14) ศิลปกรรมก็เริ่มเสื่อมลง เพราะถึงแม้ ประติมากรรมที่ทำขึ้นจะยังคงยึดมั่นในลักษณะของมหาบุรุษ แตกไมมีชีวิตจิตใจอีกต่อไป

75.       สถาปัตยกรรมในศิลปะคุปตะนิยมสร้าง       

(1) เลียนแบบจากเครื่องไม้

(2)       เลียนแบบเทวาลัยของศาสนาพราหมณ์         (3) ไว้กลางแจ้ง           (4) ถูกข้อ 2 และ 3

ตอบ 4 หน้า 102 สถาปัตยกรรมในสมัยคุปตะจะนิยมสร้างไว้กลางแจ้ง โดยในสมัยพระเจ้าจันทรคุปต์ ที่ 2 พุทธศาสนสถานที่สร้างขึ้น เช่น โบสถ์ วิหาร สถูป ฯลฯ มักจะเลียนแบบจากเทวาลัยของ ศาสนาพราหมณ์ ซึ่งลักษณะทางสถาปัตยกรรมเช่นนี้ได้ให้อิทธิพลต่อการสร้างเจดีย์ของพม่า (Pagoda) และบุโรพุทโธของอินโดนีเซียด้วย

76.       ศิลปะอินเดียเสื่อมลงเพราะ

(1) ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์มากจนเกินไป           (2) ยึดถือธรรมชาติมากเกินไป

(3)       เน้นอุดมคติมากจนเกินไป      (4) เสื่อมลงไปเองตามธรรมชาติ

ตอบ1 หน้า 83109 การที่สังคมในอินเดียมีกฎเกณฑ์และต้อบังคับมากเกินไป ทำใน้ช่างอินเดีย ไม่สามารถใช้ความคิดของตนเองนการสร้างสรรค์งานศิลปะได้อีก เพราะช่างต้องการเพียง งานศิลปะที่ตรงตามกฎเกณฑ์และข้อบังคับอันเกิดจากความเชื่อเท่านั้น จึงเป็นผลห้ศิลปะ อินเดียเสื่อมลงในที่สุด เช่น การเสื่อมลงของศิลปะคุปตะ ซึ่งเป็นศิลปะยุคทองของอินเดีย

77.       สถูปของศิลปะอินเดียสมัยใดให้อิทธิพลต่อบุโรพุทโธของอินโดนีเชีย

(1) สมัยคันธารราฐ      (2) สมัยมถุรา  (3) สมัยอมราวดี          (4) สมัยคุปตะ

ตอบ 4 ดูคำอธิบายต้อ 75. ประกอบ

78.       ศิลปะปาละต่างจากศิลปะเสนะ

(1) ศิลปะปาละสร้างขึ้นจากคติศาสนาพุทธมหายาน (2) ศิลปะปาละนิยมทำรูปเคารพที่มีแผ่นหลังติดอยู่

(3) ศิลปะปาละนิยมทำรูปเคารพประทับนั่งบนอาสน์ (4) ศิลปะปาละนิยมทำมุทราต่างไปจากศิลปะเสนะ

ตอบ 1 หน้า 105 ศิลปะปาละ (พุทธศตวรรษที่ 14 – 16) คงทำขึ้นเนื่องจากศาสนาพุทธมหายานที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาฮินดู คือ ลัทธิตันตระหรือวัชรยาน ดังนั้นจึงปรากฏมีรูปพระโพธิสัตว์ รูปเทพ และรูปศักติ (พระมเหสีของเทพ) แต่ต่อมาในสมัยศิลปะเสนะ (พุทธศตวรรษที่ 16-18) ได้กลับไปนับถือศาสน าฮินดู จึงทำให้ศิลปกรรมในสมัยนี้เต็มไปด้วยเทพทางศาสนาฮินดู

79.       ลัทธิศักติหมายถึงลัทธิหนึ่งที่บูชา

(1)       ศิวะ    (2) พระนารายณ์         (3) พระมเหสีของเทพ  (4) พระอุมา

ตอบ 3 ดูคำอธิบายต้อ 78. ประกอบ

80.       ศิลปะปาละเสนะ      

(1) นิยมหล่อรูปเคารพด้วยสำริด

(2)       นิยมสลักรูปเคารพด้วยศิลาทราย (3) นิยมทำรูปเคารพด้วยปูนปั้น (4) นิยมทำรูปเคารพด้วยดินเผา

ตอบ 1 หน้า 105 ลักษณะเฉพาะของศิลปะปาละและเสนะ คือ มีแผนหลังซึ่งมีลวดลายประดับอยู่มากมายติดอยู่กับพระพุทธรูป โดยพระพุทธรูปส่วนใหญ่ในสมัยนี้มักเป็นพระพุทธรูปทรงเครื่อง ที่หล่อด้วยสำริดและสร้างด้วยศิลา แต่ไม่มีความสวยงามเลย

ART1003 ศิลปะวิจักษณ์ การสอบไล่ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553

การสอบไล่ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553

ข้อสอบกระบวนวิชา ART 1003 ศิลปะวิจักษณ์

คำสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว (ข้อสอบมีทั้งหมด 100 ข้อ)

1.         งานจิตรกรรมฝาผนังไทยมีลักษณะตามข้อใด

(1)       ภาพสามมิติ     

(2) มีระยะใกล้และไกล           

(3) ภาพสองมิติ           

(4) ถูกข้อ 1 และ 2

ตอบ 3 หน้า 41221 – 222 ภาพสามมิติได้แบบอย่างการเขียนมาจากศิลปะตะวันตก ดังนั้นจึงมี ลักษณะเป็นภาพที่มีความลึกและประกอบไปด้วยสี เส้น และเงา ผิดกับภาพเขียนของศิลปะ ตะวันออกที่มักจะประกอบไปด้วยสีและเส้นเท่านั้น ทำให้จิตรกรรมภพเขียนฝาผนังของไทย มีลักษณะเป็นรูปแบน ๆ หรือเป็นภาพสองมิติที่ไมมีความลึก

2.         เส้นที่ให้ความรู้สึกมั่นคง จริงจัง คือข้อใด

(1)       เส้นตั้ง            

(2) เส้นซิกแซ็ก            

(3) เส้นเฉียง    

(4) เส้นนอน

ตอบ 1 หน้า 2651 – 53 (S) ศิลปินจะต้องรู้จักนำเส้นต่าง ๆ มาใช้ให้เหมาะสมกับหน้าที่ เช่นเส้นตั้ง จะให้ความรู้สึกมั่นคง จริงจังเส้นซิกแซ็ก จะให้ความรู้สึกไม่หยุดนิ่ง ตื่นเต้น,เส้นเฉียง จะให้ความรู้สึกรวดเร็วเส้นนอน จะให้ความรู้สึกสงบ นิ่งเฉย ผ่อนคลาย,เส้นโค้งลงสู่พื้น จะให้ความรู้สึกเศร้า เหนื่อยหน่าย ฯลฯ

3.         ถ้าผู้วาดภาพขาดชีวิตจิตใจ ภาพนั้นจะดูเศร้า หมายถึงเส้นที่มีลักษณะอย่างไร       

(1) เส้นตั้งตัดกัน

(2)       เส้นโค้งเป็นวงกลม     

(3) เส้นเฉียงเป็นรูปกรวย        

(4) เส้นโค้งลงสู่พื้น

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 2. ประกอบ

4.         ค่าของความแตกต่างที่เกิดจากแสงและเงาคืออะไร

(1)       ความเข้ม         (2) จุด  (3) รูปร่าง        (4) รูปทรง

ตอบ1 หน้า 56 (S) ความเข้ม (Value) หมายถึง ค่าของความแตกต่างที่เกิดจากแสงและเงาซึ่งคุณค่าของแสงและเงาจะช่วยให้งานศิลปะมีลักษณะเป็นแท่งหรือเป็นกลุ่มก้อน จนทำให้ เกิดเป็นภาพ 3 มิติขึ้น และก่อให้เกิดความงามในทางศิลปะ

5.         รูปทรงที่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอนและมีโครงสร้างคือข้อใด

(1) เรขาคณิต  (2) อินทรียรูป  (3) อิสระ          (4) ถูกทุกข้อ

ตอบ 2 หน้า 60 (ร) รูปทรง (Form) แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ

1.         อินทรียรูป คือ รูปทรงที่มีชีวิต มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอน และมีโครงสร้าง

2.         รูปทรงเรขาคณิต คือ รูปทรงที่เกิดจากการสร้างของมนุษย์ให้เกิดเป็นเส้นตรงเป็นรูปมีเหลี่ยมมุม รูปวงกลม รวมถึงการตกแต่งด้วยแบบลายเส้นในการจักสาน เช่น ตะกร้า ชะลอม กระมุง ลายในการถักทอ ฯลฯ

3.         รูปทรงอิสระ คือ รูปทรงที่ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว และไม่มีโครงสร้าง

6.         ข้อใดเที่ยวข้องกับรูปทรงเรขาคณิต

(1) ชะลอมไม้ไผ่           (2) ตะกร้าหวายลายดอกพิกุล

(3)       ภาพเหมือนของดอกตะแบก   (4) ถูกข้อ 1 และ 2

ตอบ4  ดูคำอธิบายข้อ 5. ประกอบ

7.         รูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าให้ความรู้สึกแก่ผู้ชมอย่างไร

(1) เอาจริงเอาจัง         (2) มั่นคง         (3) มีพลังสูง    (4) สนุกสนาน

ตอบ 1 หน้า 62 – 63 (S) รูปทรง สามารถสื่อความหมายและความรู้สึกได้เช่นเดียวกับวิธีการของเส้น เช่น รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส จะให้ความรู้สึกหนักแน่น เข้มแข็ง มั่นคงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า จะให้ ความรู้สึกตรงไปตรงมา เป็นกลาง เคร่งขรึม เอาจริงเอาจังรูปสี่เหลี่ยมคางหมู จะให้ความรู้สึก แปลกใหม่ สนุกสนานรูปวงกลม จะให้ความรู้สึกปลอดภัย มีพลังสูง ฯลฯ

8.         ศิลปินจีนโบราณนิยมเขียนภาพด้วยสีอะไร

(1) ดำ  (2) แดง            (3) ม่วง            (4) เขียว

ตอบ 1 หน้า 66 – 67 (S) ชาวจีนได้คิดค้นและนำสีต่าง ๆ มาใช้ย้อมผ้าหรือย้อมด้ายสำหรับทอผ้า แต่จะไม่นิยมเอามาใช้ระบายในภาพเขียน เพราะชาวจีนมีคติการเขียนภาพด้วยหมึกจีน คือ ใช้สีดำแต่เพียงสีเดียว

9.         สีวรรณะเย็นให้ความรู้สึกแก่ผู้พบเห็นอย่างไร

(1) ตื่นเต้น เร้าใจ         (2) มีพลังสูง    (3) ผ่อนคลายอารมณ์ (4) สนุกสนาน

ตอบ 3 หน้า 3568 (S) สี (Colour) แบงออกเป็น 2 วรรณะ คือ

1. สีวรรณะร้อน จะให้ความรู้สึกตื่นเต้น รุนแรง ขัดแย้ง และสนุกสนานร่าเริง เช่น สีเหลือง ส้ม แสด แดง ม่วงแดง แดงชาด เทาอมแดง ฯลฯ

2. สีวรรณะเย็น จะให้ความรู้สึกสงบ ผ่อนคลายอารมณ์ และเรียบง่าย เช่น สีเขียว เขียวอ่อน เขียวแก่ ม่วงน้ำเงิน คราม นํ้าเงิน ฯลฯ

10.       จิตรกรรมผนังถํ้าที่เก่าที่สุด เราพบที่

(1) ทางตอนเหนือของสเปน     (2) ทางตอนใต้ของสเปน

(3) ทางตอนเหนือของฝรั่งเศส (4) ทางตอนใต้ของฝรั่งเศส

ตอบ 1 หน้า 49 – 51 จิตรกรรมในสมัยโบราณก่อนประวัติศาสตร์มักพบตามถํ้า เช่น ตามผนังถ้ำ และเพดานถ้ำที่อยู่ลึกจากปากถํ้าเข้าไป บางครั้งจึงเรียกว่า ศิลปะถํ้า” โดยถํ้าแรกสุดที่พบ จิตรกรรมภาพเขียนของคนก่อนประวัติศาสตร์ที่เก่าที่สุด คือ ถํ้า Altamira ที่อยู่ทางตอนเหนือ ของสเปน โดยพบภาพเขียนเป็นภาพกวางตัวเมีย ส่วนที่ถํ้า Laussel ในฝรั่งเศส ได้พบภาพเขียน เป็นภาพสัตว์ เช่น รูปม้า วัวไบซัน และกวาง

11. การรู้จักใช้เหล็กของคนก่อนประวัติศาสตร์อินเดียได้รับอิทธิพลจาก

(1) ชาวโรมัน-กรีก        

(2) ชาวอิหร่าน 

(3) ชาวเมโสโปเตเมีย  

(4) ชาวอียิปต์

ตอบ 3 (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 38) วัฒนธรรมของคนก่อนประวัติศาสตร์อินเดียได้เจริญ สืบเนื่องต่อกันมาจนถึงยุคโลหะ โดยชาวอินเดียได้เรียนรู้การใช้เหล็กจากชาวเมโสโปเตเมีย จึงปรากฏว่ามีอาวุธแบบแปลกใหม่ที่ทำจากเหล็กและสำริดอีกมาก เช่น การทำหัวลูกศร มีด ดาบ และภาชนะเครื่องสำริด

12.       ตำบลบ้านเชียงแหล่งก่อนประวัติศาสตร์ของไทยอยู่ในจังหวัดใด

(1) จังหวัดนครพนม     

(2) จังหวัดอุดรธานี      

(3) จังหวัดอุบลราชธานี           

(4) จังหวัดนครราชสีมา

ตอบ 2 หน้า 112 (S), (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 40) แหล่งศิลปกรรมก่อนประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักกันทั่วโลกแห่งหนึ่งของไทย คือ ศิลปะบ้านเชียง ซึ่งเป็นศิลปกรรม ในสมัยหินใหม่ตอนปลายที่พบมากที่ตำบลบ้านเชียง อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี

13.       การแบ่งยุคสมัยของก่อนประวัติศาสตร์

(1)       เราแบ่งจากความประณีตของสิ่งของเครื่องใช้ที่ขุดค้นพบ

(2)       เราแบ่งจากการกำหนดยุคสมัยในศิลาจารึก

(3)       เราแบ่งจากการกำหนดยุคสมัยในจดหมายเหตุ

(4)       เราแบ่งจากวัสดุที่นำมาใช้ทำอาวุธและสิ่งของเครื่องใช้

ตอบ 4 หน้า 4775 มนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์นั้นยังไม่มีตัวอักษรสำหรับการจดบันทึก ดังนั้น เราจึงแบ่งยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์ของมนุษย์จากวัสดุที่นำมาใช้ทำอาวุธและสิ่งของเครื่องใช้ นับตั้งแต่เครื่องใช้ใม้สอยอันทำจากหิน เครื่องปั้นดินเผา กระดูกสัตว์ งาช้าง เหล็ก สำริด เปลือกหอย และเครื่องประดับต่าง ๆ ซึ่งล้วนเป็นสิ่งบ่งบอกให้รู้ถึงถึงความเจริญรุงเรือง ของสังคม ชีวิตความเป็นอยู่และเทคโนโลยีในสมัยนั้น ๆ ได้เป็นอย่างดี

14.       จิตรกรรมก่อนประวัติศาสตร์ของยุโรปแบ่งออกเป็น

(1) 1 ยุค          (2) 2 ยุค          (3) 3 ยุค          (4) 4 ยุค

ตอบ 2 (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 36) จิตรกรรมในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ของยุโรป แบ่งออกเป็น 2 ยุค คือ 1. แบบออริกเนเชียน (Auiignecian Style)

2. แบบแมกดาเรเนียน (Magdalenian Style)

1 5. จิตรกรรมในสมัยโบราณสมัยก่อนประวัติศาสตร์

(1) เราพบทั่วไปในแหล่งที่ทำการขุดค้น           (2) เราพบตามผนังถํ้า เพดานถํ้า

(3) เราพบตามหุบเขา แหล่งที่อยู่อาศัยของคนทั่วไป   (4) เราพบในภาพวาดบนแผ่นจารึก

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 10. ประกอบ

16.       ประติมากรรมที่ทำขึ้นครั้งแรกของคนสมัยก่อนประวัติศาสตร์

(1) เกี่ยวข้องกับความสวยงามของธรรมชาติ  (2) เกี่ยวข้องกับความอุดมสมบูรณ์

(3) เกี่ยวข้องกับความเชื่อถือเรื่องวิญญาณ    (4) เกี่ยวข้องกับความสำคัญของหัวหน้ากลุ่มชน

ตอบ2 หน้า 51 ประติมากรรมที่ทำขึ้นครั้งแรกของคนสมัยก่อนประวัติศาสตร์นั้นจะมีลักษณะกลม และสรีระส่วนต่าง ๆ ได้ขยายออกจนผิดความเป็นจริง แสดงว่าประติมากรรมที่ทำขึ้นมานี้ มีความเกี่ยวข้องกับความอุดมสมบูรณ์ เช่น พบประติมากรรมลอยตัวที่ประเทศเยอรมัน คือ วีนัส วีเลนดอร์ฟ (Venus of Willendorf) ซึ่งเป็นเทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์

17.       ผู้ที่นำพระเวทเข้ามาคือ

(1) พวกเตอร์ก (2) พวกอารยัน            (3) พวกดราวิเดียน      (4) พวกชาวลุ่มแม่นํ้าสินธุ

ตอบ2 หน้า 90 เมื่อชาวอารยันได้เข้ามายึดครองดินแดนแถบลุ่มแมนํ้าสินธุและคงคา ก็ได้นำ คัมภีร์พระเวทเข้ามาเผยแพร่ในอินเดียด้วย ซึ่งคัมภีร์พระเวทนี้มีอิทธิพลต่อคติความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี ตำนานเก่าแก่ และนิยายพื้นเมืองของชาวอารยันมาก

18.       เทือกเขาวินธัยแบ่งอินเดีย

(1) ให้เป็นอินเดียเหนืออินเดียใต้         (2) ให้ออกจากประเทศต่าง ๆ ทางตอนเหนือ

(3) ให้เป็นอินเดียตะวันออกและตะวันตก       (4) ให้เป็นอินเดียและศรีลังกา

ตอบ 1 หน้า 81 บระเทศอินเดียมีพื้นที่เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยตอนกลางของประเทศจะมีเทือกเขาวินธัย แบ่งอินเดียออกเป็นภาคเหนือและภาคใต้ ซึ่งแต่ก่อนนี้ภาคเหนือจะเรียกว่า แคว้นฮินดูสถาน” ส่วนดินแดนทางภาคใต้จะรียกว่า แหลมเดคข่านหรือทักษิณบถ

19. อิทธิพลของศิลปะอิหร่านเข้าสู่อินเดีย

(1)       2 ครั้ง   (2) 3 ครั้ง         (3) 4 ครั้ง         (4) 5 ครั้ง

ตอบ 1 (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 46) อิหร่านได้เข้ามาครอบครองดินแดนแถบลุ่มแม่น้ำสินธุ ตั้งแต่ประมาณพุทธกาลจนถึง พ.ศ. 250 ต่อมาในพุทธสตวรรษที่ 17 อิหร่านก็เข้ามมีอำนาจ เหนืออินเดียอีกครั้งหนึ่ง ดังนั้นอิทธิพลของศิลปะอิหร่านจึงปรากฎในศิลปะอินเดียมาก

20.       อารยธรรมอินเดียสมัยใหม่ เริ่มตั้งแต่อินเดีย

(1) ได้รับอิทธิพลของอารยัน    (2) ได้รับอิทธิพลชองอิสลาม

(3) ได้เข้าสู่ฮินดูยุคกลาง         (4) ตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษแล้ว

ตอบ 4 (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 44) อารยธรรมอินเดียแบ่งได้ดังนี้

1.         อารยธรรมแถบลุ่มแม่น้ำสินธุ (ประมาณ 1,500 ปีก่อนคริสตกาล) ซึ่งได้แก  วัฒนธรรมโมเหนโจดาโรและฮารัปปา

2.         อารยธรรมอารยัน (ประมาณ 1,000 ปีก่อนคริสตกาล)

3.         อารยธรรมฮินดูยุคกลาง (ประมาณ พ.ศ. 1313 – 1743)

4.         อารยธรรมอิสลาม (ประมาณ พ.ศ. 1743 – 2346)

5. อารยธรรมอินเดียสมัยใหม่

(เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2346 ซึ่งเป็นปีที่ตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ จนถึงปัจจุบัน)

21.       ศิลปะอินเดียเป็นศิลปะ

(1) นามธรรม   

(2) รูปธรรม      

(3) แบบอุดมคติ          

(4) ที่สร้างขึ้นจากธรรมชาติ

ตอบ3 หน้า 84 ศิลปะอินเดียเป็นศิลปะแบนอุดมคติ (Idealistic Art) คือ การอาศัยรูปร่างจาก ธรรมชาติเป็นเกณฑ์ในการสร้างจินตนาการของศิลปิน และการแสดงออกของศิลปินก็มิได้ แสดงออกให้ตรงตามธรรมชาติ แต่เป็นไปตามกฎเกณฑ์หรือข้อบังคับของสังคมมากกว่า

22.       พระพุทธศาสนาในอินเดียเจริญถึงขีดสุดในสมัย

(1) พระเจ้าพิมพิสาร    

(2) พระเจ้าอโศก         

(3) พระเจ้าโมริยะ        

(4) พระเจ้าจันทรคุปต์ที่ 2

ตอบ 2 หน้า 90 พระพุทธศาสนาในอินเดียเจริญขึ้นในแคว้นมคธราฐในสมัยของพระเจ้าพิมพิสาร และเจริญขึ้นถึงขีดสุดในสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราชราวพุทธศตวรรษที่ 3 ดังนั้นใน ยุคแรกเริ่มของการทำศิลปกรรมนี้ พระพุทธศาสนาจึงมีบทบาทเป็นอย่างมาก

23.       ในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชนิยมทำพระพุทธรูป

(1) เป็นรูปสัญลักษณ์  

(2) ลอยตัว       

(3) เหมือนภาพสลักนูนสูง       

(4) เป็นภาพสลักนูนต่ำ

ตอม 1 หน้า 92 ศิลปะในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชนั้น แม้ว่าช่างอินเดียจะทำศิลปกรรมไว้มากมาย แต่ในการสลักภาพนูนสูงแล้ว ช่างยังไม่กล้าแสดงรูปพระพุทธเจ้าเป็นภาพบุคคล แต่จะทำเป็น รูปสัญลักษณ์แทนองคพระพุทธเจ้าในภาพเล่าเรื่องพุทธประวัติหรือชาดกเท่านั้น

24.       ศสนสถานที่เจาะลึกเข้าไปในภูเขาเป็นผังสี่เหลี่ยมเรียกว่า

(1) ถ้ำวิหาร      (2) ถํ้าเจติยสถาน        (3) ถํ้าอชันตา  (4) ถํ้าอโลร่า

ตอบ 1 หน้า 91 ศาสนสถานที่เจาะลึกเข้าไปในภูเขามีอยู 2 ลักษณะ คือ

1.         ถ้ำวิหาร เป็นศาสนสถานแบบเก่าที่สุด มักมีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในทำเป็นห้องเล็ก ๆ เพื่อเป็นที่พักอาศัยของพระภิกษุ

2.         ถ้ำเจดีย์สถาน มักมีแผนผังเป็นรูปไข่ ใช้เป็นที่ชุมนุมของศาสนิกชนเพื่อเคารพบูชา พระพุทธเจ้าเท่านั้น

25.       ชาวอินเดียมีความเชื่อเรื่องเทวโลก    

(1) ผิดแปลกไปจากโลกมนุษย์

(2)       บนสวรรค์มีเพียงพระราชวัง พระมหากษัตริย์ เหมือนโลกมนุษย์

(3)       เหมือนกับโลกมนุษย์ทุกประการ        (4) มีเพียงภูเขาและมหาสมุทรที่เหมือนโลกมนุษย์

ตอบ 3 หน้า 83, (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 45) ชาวอินเดียมีความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับโลกสัณฐานหรือเทวโลกว่า มนุษย์โลกและเทวโลกมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ เช่น มีพระมหากษัตริย์ซึ่งก็คือรูปเทวดา มีพระราชวังอันเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ ซึ่งก็คือเทวาลัยที่สร้างจำลองจากเขาพระสุเมรุ มีมหาสมุทร ภูเขา แม่น้ำ และประชาชน

26.       อารยธรรมเก่าสุดของอินเดีย

(1)       อารยธรรมโมเหนโจดาโรและฮารัปปา (2) อารยธรรมอารยัน

(3) อารยธรรมฮินดู      (4) อารยธรรมอิสลาม

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 20. ประกอบ

27.       สถาปัตยกรรมรุ่นแรกของอินเดียสร้างด้วย

(1) ไม้และดินเหนียว    (2)       อิฐปูนสอ          (3) ไม้  (4) ดินเหนียว

ตอบ 1 หน้า 90 นักโบราณคดีให้ความเห็นว่า สถาปัตยกรรมในยุคแรกเริ่มของอินเดียนั้นคงจะสร้างด้วยดินเหนียวและไม้ซึ่งแตกสลายได้ง่าย ด้งนั้นจึงไม่เหลือร่องรอยให้คนรุ่นหลังได้เห็น ทำให้สถาปัตยกรรมและศิลปกรรมที่เหลืออยู่ไม่เก่าไปกว่าพุทธศตวรรษที่ 3 แม้ว่าพุทธศาสนา จะเจริญขึ้นในอินเดียตั้งแต่พุทธกาลมาแล้วก็ตาม

28.       สถูปที่เมืองสาญจีและภารหุตเป็นสถูปที่

(1) เลียนแบบจากเนินดิน        (2)       เก่าสุดของอินเดีย        (3) มีส่วนฐานสูงมาก   (4) ถูกข้อ 1 และ          2

ตอบ 4 หน้า 91 – 92 สถูปที่เมืองสาญจีและภารหุตของอินเดีย เป็นสถูปที่สร้างขึ้นตั้งแต่ราวพ.ศ. 400 – 550 โดยการเลียนแบบจากเนินดิน องค์สถูปเป็นรูปโอควํ่า สร้างด้วยอิฐหรือหิน ตั้งอยู่บนฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสค่อนข้างเตี้ย ดังนั้นจึงถือเป็นสถูปที่เก่าที่สุดและได้เป็นแบบอย่าง แกสถูป ในสมัยหลังต่อมาทั้งในอินเดียและเอเชียอาคเนย์

29.       พระพุทธรูปในศิลปะอินเดียทำขึ้นครั้งแรกในศิลปะ

(1) อินเดียสมัยโบราณ            (2)คันธารราฐ  (3)มถุรา           (4)อมราวดี

ตอบ 2 หน้า 93 พระพุทธรูปอินเดียทำขึ้นครั้งแรกในศิลปะคันธารราฐ (พุทธศตวรรษที่ 6-7)ซึ่งเจริญขึ้นที่ภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย โดยเมื่อพระเจ้ากนิษะกะแหงเอเชียกลาง ได้ยึดดินแดนนี้ในพุทธศตวรรษที่ 6 แล้ว ก็ได้ทรงอุปถัมภ์พุทธศาสนามหายานด้วยการโปรดให้ สร้างรูปเคารพขึ้นเป็นครังแรก ซึ่งเชื่อว่าพระพุทธรูปในยุคแรกเริ่มนี้คงทำขึ้นโดยช่างกรีก

30.       พระพุทธรูปในศิลปะอินเดียที่เจริญขึ้นตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 6-10 ที่มีแบบอย่างเป็นอินเดียอย่างแท้จริง คือศิลปะ

(1) อินเดียสมัยโบราณ            (2)คันธารราฐ  (3)มถุรา           (4)อมราวดี

ตอบ     4 หน้า 959799 พระพุทธรูปอินเดียเริ่มเป็นแบบอย่างของศิลปะอินเดียในสมัยมถุรา(พุทธศตวรรษที่ 7 – 8) แต่ความเป็นอินเดียอย่างแท้จริงและลักษณะของมหาบุรุษปรากฏขึ้น อย่างครบครันในพระพุทธรูปสมัยอมราวดี (พุทธศตวรรษที่ 7-9) ซึ่งถือได้วามีความงาม ตามแบบอินเดียโดยแท้ เพราะไม่เห็นลักษณะของอิทธิพลต่างชาติเลย

31.       ศิลปะคันธารราฐเจริญขึ้นที่ภาคใดของอินเดีย

(1) ภาคตะวันตก         

(2) ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ

(3) ภาคตะวันออก       

(4) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 29. ประกอบ

32.       พระพุทธรูปอินเดียสมัยใดที่ได้รับอิทธิพลของกรีกและอิหร่าน

(1) ศิลปะอินเดียสมัยโบราณ  

(2) ศิลปะตันธารราฐ

(3) ศิลปะมถุรา            

(4) ศิลปะอมราวดี

ตอบ 3 หน้า 95 พระพุทธรูปอินเดียในสมัยศิลปะมถุรา นอกจากจะปรากฏมีอิทธิพลของศิลปะกรีก ที่ผ่านมาทางด้านคันธาระแล้ว ก็ยังปรากฏอิทธิพลของศิลปะอิหร่านที่ผ่านเข้ามาจากการขยายอำนาจ ของพระมหากษัตริย์แห่งอิหร่านในราชวงศ์สัสสาเนียนด้วย แต่อิทธิพลของศิลปะกรีกและอิหร่าน ที่ปรากฏออกมาในศิลปะมถุราก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะช่างอินเดียได้พยายามดัดแปลงให้เป็น แบบอย่างของอินเดียโดยแท้

33.       ศิลปะอมราวดีเจริญขึ้นแถนลุ่มแม่น้ำใด

(1) ลุ่มแม่น้ำสินธุ         

(2)ลุ่มแม่น้ำคงคา        

(3)ลุ่มแม่น้ำยมุนา        

(4)ลุ่มแม่น้ำกฤษณา

ตอบ 4 หน้า 97 ศิลปะอมราวดี (พุทธศตวรรษที่ 7-9) เจริญขึ้นทางตอนใต้ของประเทศอินเดีย แถบลุ่มแม่น้ำกฤษณาโดยเฉพาะที่เมืองอมราวดี นาคารชุนิโกณฑะ ชัคคัยยะเปฎะ และโคลิ ภายใต้การอุปถัมภ์ของราชวงศ์สัตตวาหนะ เมื่อประมาณต้นพุทธศตวรรษที่ 6

34.       พระพุทธรูปนาคปรกเริ่มทำครั้งแรกในศิลปะอินเดีย

(1) ศิลปะคันธารราฐ   (2)       ศิลปะมถุรา     (3)       ศิลปะอมราวดี (4)       ศิลปะคุปตะ

ตอบ 3 หน้า 121 พระพุทธรูปนาคปรกในอินเดียมีกำเนิดครั้งแรกในศิลปะอมราวดี และทำแต่เฉพาะ ในศิลปะอมราวดีเท่านั้น หลังจากนั้นจึงได้ส่งผลต่อไปยังศิลปะลังกาแบบอนุราชปุระ นอกจากนี้ ยังให้อิทธิพลต่อศิลปะคุปตะและหลังคุปตะของอินเดียอีกด้วย

35.       การยืนเอียงตะโพกของพระพุทธรูปอินเดียเราเห็นครั้งแรกในศิลปะใด

(1) ศิลปะคันธารราฐ   (2)ศิลปะมฤรา (3)ศิลปะอมราวดี        (4)ศิลปะคุปตะ

ตอบ4 หน้า 103 พระพุทธรูปคุปตะมีความงามตามแบบอุดมคติที่ช่างอินเดียยึดตามกฎของ ลักษณะมหาบุรุษ แล้วนำมาประยุกต์เข้ากับความนึกคิดของช่างเอง ดังนั้นพระพุทธรูป จึงมีลักษณะไม่มีเพศ เป็นกึ่งมนุษย์กึ่งเทวดา มักแสดงเป็นภาพเต็มตัวหันด้านหน้า และยืนตริภังค์ (ยืนเอียงตะโพก) บ้าง ยืนตรงบ้าง

36.       การครองจีวรของพระพุทธรูปมถุรา

(1) ห่มคลุม จีวรเป็นริ้ว (2) ห่มเฉียง เปิดพระอังสาขวา

(3) ห่มเฉียง เปิดพระอังสาซ้าย ไมมีสังฆาฏิ    (4) ห่มคลุม จีวรเรียบติดกับพระวรกาย

ตอบ3 หน้า 95 – 96, (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 55) การครองจีวรของพระพุทธรูปมถุราจะเป็นแบบใหม่ คือ ครองเฉพาะจีวรและสบงโดยไม่ปรากฏว่ามีสังฆาฏิ และมักห่มเฉียง เปิดพระอังสาซ้าย โดยบางครั้งพระพุทธรูปก็จะห่มคลุมซึ่งคงเลียนแบบมาจากศิลปะตันธารราฐ ส่วนอิทธิพลของศิลปะอิหร่านจะปรากฏชัดในเครื่องแต่งกายของเทวรูปบางองศ์ เช่น รูปพระอาทิตย์แต่งกายตามแบบนักรบอิหร่าน ฯลฯ

37.       ศิลปะอิหร่านที่ปรากฏในศิลปะมถุราเราเห็นได้จาก

(1)       พระพักตร์ของพระพุทธรูป      (2) เครื่องแต่งกายของเทวรูปบางองค์

(3) ริ้วผ้าของพระพุทธรูป         (4) ขมวดพระเกศาของพระพุทธรูป

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 36. ประกอบ

38.       สถาปัตยกรรมในศิลปะคุปตะนิยมสร้าง       

(1) เลียนแบบจากเครื่องไม้

(2)       เลียนแบบเทวาลัยของศาสนาพราหมณ์         (3) ไว้กลางแจ้ง           (4) ถูกข้อ 2 และ 3

ตอบ 4 หน้า 102 สถาปัตยกรรมในสมัยคุปตะจะนิยมสร้างไว้กลางแจ้ง โดยในสมัยพระเจ้าจันทรคุปต์ ที่ 2 พุทธศาสนสถานที่สร้างขึ้น เช่น โบสถ์ วิหาร สถูป ฯลฯ มักจะเลียนแบบจากเทวาลัยของ ศาสนาพราหมณ์ ซึ่งลักษณะทางสถาปัตยกรรมเช่นนี้ได้ให้อิทธิพลต่อการสร้างเจดีย์ของพม่า (Pagoda) และบุโรพุทโธของอินโดนีเซียด้วย

39.       ศิลปะอินเดียเริ่มเสื่อมลงในสมัยใด

(1)       สมัยอมราวดี    (2) สมัยคุปตะ (3) สมัยหลังคุปตะ      (4) สมัยปาละ-เสนะ

ตอบ 3 หน้า 100 – 101109 ศิลปะที่มีความงามสูงสุดในสมัยคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ 9 – 11)ยังคงทำต่อมาอีกจนหมดสมัยของพระเจ้ากุมารคุปต์ในพุทธศตวรรษที่ 12 หลังจากนั้น เมื่อเริ่มเข้าสู่สมัยหลังคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ 12 – 14) ศิลปกรรมก็เริ่มเสื่อมลง เพราะถึงแม้ ประติมากรรมที่ทำขึ้นจะยังคงยึดมั่นในลักษณะของมหาบุรุษ แตกไม่มีชีวิตจิตใจอีกต่อไป

40.       ศิลปะอินเดียเสื่อมลงเพราะ

(1)       ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์มากจนเกินไป    (2) ยึดถือธรรมชาติมากเกินไป

(3)       เน้นอุดมคติมากจนเกินไป      (4) เสื่อมลงไปเองตามธรรมชาติ

ตอบ 1 หน้า 83109 การที่สังคมในอินเดียมีกฏเกณฑ์และข้อบังคับมากเกินไป ทำให้ช่างอินเดีย ไม่สามารถใช้ความคิดของตนเองในการสร้างสรรค์งานศิลปะได้อีก เพราะช่างต้องการเพียง งานศิลปะที่ตรงตามกฎเกณฑ์และข้อบังคับอันเกิดจากความเชื่อเท่านั้น จึงเป็นผลให้ศิลปะ อินเดียเสื่อมลงในที่สุด เช่น การเสื่อมลงของศิลปะคุปตะ ซึ่งเป็นศิลปะยุคทองของอินเดีย

41.       สถูปของศิลปะอินเดียสมัยใดให้อิทธิพลต่อบุโรพุทโธของอินโดนีเซีย

(1) สมัยคันธารราฐ      

(2) สมัยมถุรา  

(3) สมัยอมราวดี          

(4) สมัยคุปตะ

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 38. ประกอบ

42.       ศิลปะปาละต่างจากศิลปะเสนะ เพราะศิลปะปาละ…

(1) สร้างขึ้นจากคติศาสนาพุทธมหายาน         

(2) นิยมทำรูปเคารพที่มีแผ่นหลังติดอยู่

(3) นิยมทำรูปเคารพประทับนั่งบนอาสน์         

(4) นิยมทำมุทราต่างไปจากศิลปะเสนะ

ตอบ 1 หน้า 105 ศิลปะปาละ (พุทธศตวรรษที่ 14 – 16) คงทำขึ้นเนื่องจากศาสนาพุทธมหายานที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาฮินดู คือ ลัทธิตันตระหรือวัชรยาน ดังนั้นจึงปรากฏมีรูปพระโพธิสัตว์ รูปเทพ และรูปศักติ (พระมเหสีของเทพ) แต่ต่อมาในสมัยศิลปะเสนะ (พุทธศตวรรษที่ 16 – 18) ได้กลับไปนับถือศาสนาฮินดู จึงทำให้ศิลปกรรมในสมัยนี้เต็มไปด้วยเทพทางศาสนาฮินดู

43.       ลัทธิศักติหมายถึงลัทธิหนึ่งที่บูชา

(1) พระศิวะ     

(2) พระนารายณ์         

(3) พระมเหสีของเทพ 

(4) พระอุมา

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 42. ประกอบ

44.       ศิลปะปาละ-เสนะ

(1)       นิยมหล่อรูปเคารพด้วยสำริด  (2) นิยมสลักรูปเคารพด้วยศิลาทราย

(3) นิยมทำรูปเคารพด้วยปูนบั้น          (4) นิยมทำรูปเคารพด้วยดินเผา

ตอบ 1 หน้า 105 ลักษณะเฉพาะของศิลปะปาละและเสนะ คือ มีแผ่นหลังซึ่งมีลวดลายประดับอยู่ มากมายติดอยู่กับพระพุทธรูป โดยพระพุทธรูปส่วนใหญ่ในสมัยนั้มักเป็นพระพุทธรูปทรงเครื่อง ที่หล่อด้วยสำริดและสร้างด้วยศิลา แต่ไม่มีความสวยงามเลย

45.       ศิลปะอินเดียสมัยใดที่ไม่นิยมรูปเคารพ         

(1) ศิลปะอินเดียสมัยโบราณ

(2)       ศิลปะอมราวดี            (3) ศิลปะปาละ-เสนะ (4) ศิลปะอิสลาม

ตอบ 4 หน้า 106 – 107 ศิลปะอิสลาม (พุทธศตวรรษที่ 18 – 23) จะไม่นิยมทำรูปเคารพแต่อย่างใด ดังนั้นจึงไม่ปรากฏว่ามีรูปเคารพที่เป็นประติมากรรมเลย แต่สิ่งที่เหลือให้ชื่นชมและมีความงาม ที่แปลกใหม่ คือ จิตรกรรมและสถาปัตยกรรม

46.       ศิลปะทวารวดี

(1) ทำขึ้นจากคติทางศาสนาพุทธหินยานนิกายหนึ่ง   (2) เป็นศิลปะสมัยแรกสุดของไทย

(3)       เป็นศิลปะที่เจริญขึ้นทางตะวันออกเฉียงเหนือของไทย          (4) ถูกข้อ 1 และ 2

ตอบ 2 หน้า 119 – 120214 ศิลปะทวารวดี เป็นศิลปะสมัยแรกสุดของไทยที่เจริญขึ้นทางภาคกลาง และทำขึ้นจากคติทางพุทธศาสนาหินยานอย่างเถรวาทที่ใช้ทั้งภาษาบาลีและสันสกฤต พุทธศาสนามหายาน และศาสนาฮินดู จึงปรากฏมีอิทธิพลของศิลปะอมราวดีซึ่งเป็นศิลปกรรมที่ทำขึ้นจากคติทางพุทธหินยาน รวมทั้งศิลปะคุปตะ หลังคุปตะ และศิลปะปาละ-เสนะที่ทำขึ้น จากคติทางพุทธศาสนามหายาน

47.       พระบรมธาตุไชยาเป็นสถาปัตยกรรมในศิลปะ

(1) ทวารวดี      (2) ศรีวิชัย       (3) ลพบุรี         (4) สุโขทัย

ตอบ 2 หน้า 129 พระบรมธาตุไชยา จ.สุราษฎร์ธานี เป็นสถาปัตยกรรมที่แม้จะได้รับการบูรณะ ซ่อมแซมมาบ้าง แต่ก็ยังคงเห็นลักษณะเดิมของสถาปัตยกรรมแบบศรีวิชัยอยู่ ในขณะที่ สถาปัตยกรรมส่วนใหญ่ที่พบใน อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานีนั้น ได้รับการซ่อมแซมจนเกือบจะ ไม่เห็นสถาปัตยกรรมรูปเดิม

48.       ศิลปะของไทยสมัยใดที่มีความคล้ายคลึงกับศิลปะเขมร

(1) ศิลปะศรีวิชัย         (2)       ศิลปะลพบุรี    (3)       ศิลปะสุโขทัย   (4)       ศิลปะอยุธยา

ตอบ 2 หน้า 132 ศิลปะลพบุรี เจริญขึ้นทางภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยโดยลักษณะทางศิลปกรรมจะคล้ายคลึงกับศิลปกรรมในเขมร ทังนี้เพราะดินแดนส่วนใหญ่ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเมืองลพบุรีของไทยเคยอยู่ในครอบครองของเขมรมาก่อน

49.       ศิลปะของไทยสมัยใดที่นิยมสร้างสถาปัตยกรรมด้วยศิลาแลง

(1) ศิลปะลพบุรี           (2)       ศิลปะสุโขทัย   (3)       ศิลปะอยุธยา   (4)       ถูกข้อ 1 และ 2

ตอบ 4 หน้า 136148 สถาปัตยกรรมลพบุรีมักจะก่อด้วยศิลาแลงและสร้างเป็นเทวาลัยบนเชิงเขาสูง ส่วนสถาปัตยกรรมสุโขทัยที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะลพบุรีก็มักจะก่อด้วยศิลาแลงเช่นกัน เช่น พระปรางค์วัดพระพายหลวง หรือศาลตาผาแดง จังหวัดสุโขทัย

50.       พระพุทธรูบทวารวดีรุ่นที่ 2 เป็นอิทธิพลของศิลปะ

(1) อินเดีย       (2)       พื้นเมือง           (3)       เขมร    (4)       สุโขทัย

ตอบ 2 หน้า 123 – 124 พระพุทธรูปทวารวดีแบ่งเป็น 3 รุ่นดังนี้

1.         รุ่นที่ 1 แสดงอิทธิพลของศิลปะอมราวดี คุปตะและหลังคุปตะ มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 12

2.         รุ่นที่ 2 แสดงอิทธิพลของศิลปะพื้นเมืองมากยิ่งขึ้น มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 13 – 15

3.         รุ่นที่ 3 แสดงอิทธิพลของศิลปะขอมแบบปาปวนหรือศิลปะลพบุรีตอนต้น มีอายุราว พุทธศตวรรษที่ 15 ลงมา

51.       พระพิมพ์ในศิลปะทวารวดีต่างจากพระพิมพ์ในสมัยศรีวิชัยคือ

(1)       ทำขึ้นเพื่อสืบศาสนาพุทธ        

(2) เป็นพระพิมพ์ดินดิบ

(3) นิยมทำพระกำแพงร้อย      

(4) เป็นพระพิมพ์สำริด

ตอบ 1 หน้า 124129 พระพิมพ์ของศิลปะทวารวดีมักสร้างด้วยดินเผาเพื่อไว้สืบพระบวรพุทธศาสนา โดยมักมีพระธรรมหรือคาถาเย ธมมาฯ อันเป็นหัวใจของศาสนาปรากฏอยู ส่วนพระพิมพ์ ของศิลปะศรีวิชัยนั้นทำขึ้นจากคติทางมหายาน โดยนิยมทำพระพิมพ์ดินดิบเพราะไมได้ถือ การสืบพระพุทธศาสนาเป็นที่ตั้ง แต่ถือปรมัตประโยชน์ของผู้มรณภาพไปแล้ว

52.       เราทราบคำว่า ทวารวดี” จาก

(1) บันทึกจดหมายเหตุจีนในสมัยราชวงศ์ฮั่น  

(2) บันทึกจดหมายเหตุรายวันของนักพรตจีน

(3) จารึกบนแผ่นทองพบที่นครปฐมและอูทอง            

(4) จารึกบนหลักศิลาจารึกสมัยสุโขทัย

ตอบ2 หน้า 119 เราทราบคำว่า ทวารวดี” จากการพบเหรียญเงิน 3 เหรียญที่มีจารึกว่าศรีทวาราวดีศวรปุณย” พร้อมทั้งจดหมายเหตุจีนจากการบันทึกของหลวงจีนเหี้ยนจัง ซึ่งเป็นพระสงฆ์ในสมัยราชวงศ์ถัง โดยเขาได้กล่าวถึงอาณาจักรโถโลโปตี้ (ทวารวดี) ว่า อยู่ระหว่างอาณาจักรศรีเกษตร (พม่า) และอาณาจักรอิสานปุระ (เขมร)

53.       ศิลปะอินเดียที่ให้กับศิลปะทวารวดี

(1) ศิลปะอินเดียสมัยโบราณและศิลปะคันธารราฐ    

(2) ศิลปะคันธารราฐและศิลปะมถุรา

(3) ศิลปะมถุราและศิลปะอมราวดี      

(4) ศิลปะอมราวดีและศิลปะคุปตะ

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 46. ประกอบ

54.       พระพุทธรูปขัดสมาธิราบคือ

(1)       ประทับขัดสมาธิเห็นฝ่าพระบาทสองข้าง พระหัตถ์ประสานกันบนพระเพลา

(2)       ประทับขัดสมาธิเห็นฝ่าพระบาทข้างเดียว พระหัตถ์ประสานกันบนพระเพลา

(3)       ประทับขัดสมาธิเห็นฝ่าพระบาทสองข้าง พระหัตถ์ทำท่าประคองพระธรรมจักร

(4)       ประทับนั่งสมาธิเห็นฝ่าพระบาทข้างเดียว พระหัตถ์ทำท่าประคองพระธรรมจักร

ตอบ 2 หน้า 140 พระพุทธรูปขัดสมาธิราบ คือ พระพุทธรูปในท่าประทับนั่งขัดสมาธิราบแลเห็นฝ่าพระบาทเพียงข้างเดียว พระหัตถ์ประสานกันบนพระเพลา บางครั้งฐานเรียบ ไม่มีลวดลายประกอบ

55.       เจดีย์จุลประโทนอยู่ที่จังหวัด

(1) สุโขทัย       (2) อยุธย      (3) นครปฐม    (4) ราชบุรี

ตอบ 3 หน้า 124 – 125162 (S) สถาปัตยกรรมในสมัยทวารวดีจะเห็นได้จากรูปเจดีย์เท่านั้นเพราะไม่ปรากฎว่ามีโบสถ์วิหารหลงเหลืออยู่แต่อย่างใด เช่น พระเจดีย์จุลประโทนและเจดีย์ วัดพระเมรุ จ.นครปฐม ซึ่งเป็นซากอาคารใหญ่ก่อด้วยอิฐ บางครั้งย่อมุมและมีบันไดลงไปข้างล่างเจดีย์วัดกู่กุด จ.ลำพูน ซึ่งจัดเป็นสถาปัตยกรรมทวารวดีตอนปลาย ฯลฯ

56.       เจดีย์วัดกูกุดอยู่ที่จังหวัด

(1) เชียงราย    (2) เชียงใหม่    (3)       ลำพูน  (4)       ราชบุรี

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 55. ประกอบ

57.       ศิลปะที่มีความคล้ายคลึงกับศิลปะอินโดนีเซีย

(1) ศิลปะทวารวดี        (2) ศิลปะศรีวิชัย         (3)       ศิลปะลพบุรี    (4)       ศิลปะเชียงแสน

ตอบ 2 หน้า 126 – 127 ศิลปะศรีวิชัย มีอำนาจขึ้นที่เกาะสุมาตราและขยายอำนาจเข้าครอบครอง ดินแดนทางตอนใต้ของไทย โดยศิลปะในสมัยนี้จะมีลักษณะคล้ายคลึงกับศิลปะอินโดนีเซีย คือ เป็นศิลปกรรมที่ทำขึ้นจากพุทธศาสนามหายานทั้งสิ้น โดยได้รับอิทธิพลจากศิลปะแบบ คุปตะและปาละ-เสนะจากอินเดีย

58.       ศิลปะของไทยยุคใดที่ทำประติมากรรมได้สวยที่สุด

(1) ศิลปะเชียงแสน     (2) ศิลปะสุโขทัย         (3)       ศิลปะอยุธยา   (4)       ศิลปะรัตนโกสินทร์

ตอบ 2 หน้า 143 – 144 ศิลปะสุโขทัย ถือเป็นศิลปะยุคทองของศิลปกรรมไทย ทั้งนี้เพราะ ประติมากรรมในสมัยนี้มีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะแบบ มีความสวยงามสง่า และมีความเรียบง่ายตามอุดมคติผิดไปจากศิลปกรรมสมัยอื่น ๆ

59.       ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์เริ่มต้นจาก

(1)       พระเจ้าตากสินตั้งกรุงธนบุรีเป็นราชธานี

(2)       พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกตั้งกรุงเทพเป็นราชธานี

(3)       พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยุหัวขึ้นครองราชย์

(4)       พระบทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นครองราชย์

ตอบ 2 หน้า 156 ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์เจริญขึ้นทางภาคกลางของไทย โดยเริ่มตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงสถาปนากรุงเทพมหานครขึ้นเป็นราชธานี ตั้งแต่ พ.ศ. 2325 จนถึงปัจจุบัน

60.       งานสร้างสรรค์ศิลปะที่สูงสุดของมนุษย์คือข้อใด

(1) ภาพวาดบนผืนผ้าใบ         (2) โบสถ์ วิหาร (3) บ้านที่อยู่อาศัย     (4) เครื่องประดับเพชร

ตอบ     2 หน้า 2004 (S)12 (S) ศาสนศิลปะ (Religious Art) หรืองานศิลปกรรมในลัทธิความเชื่อถือและศาสนา ถือเป็นงานสร้างสรรค์ที่สูงสุดและเหนือกว่างานสร้างสรรค์ด้านอื่น ๆ เพราะเป็น งานศิลปะที่เกิดจากความซาบซึ้งทางพุทธิปัญญาที่มีคุณคาเหนือกว่าศิลปะทั้งหลายที่มนุษย์ ได้สร้างขึ้น เช่น ประติมากรรมพระพุทธรูปในศิลปะสุโขทัย ภาพเขียนพุทธประวัติ โบสถ์ วิหาร หรือศาสนสถานที่สร้างขึ้นเพื่อการบูชาต่าง ๆ เป็นต้น

61.       ศิลปะที่ให้ประโยชน์สุขทางกาย

(1) วิจิตรศิลป์  

(2) ศิลปะประยุกต์      

(3) ทัศนศิลป์   

(4) ศิลปะกินระวางเนื้อที่

ตอบ 2 หน้า 8 – 93 – 4 (S) ศิลปะประยุกต์ (Applied Art) คือ งานศิลปะที่ผู้สร้างตั้งใจสร้าง หรือประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อประโยชน์ใช้สอยอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยเป็นการรู้จักนำเอาศิลปะมา ดัดแปลงให้เป็นประโยชน์แกชีวิตประจำวัน ซึ่งถือเป็นประโยชน์สุขทางกายของมนุษย์ เช่น เครื่องประดับ เครื่องจักร ผ้า เครื่องหนัง เครื่องเคลือบ และเครื่องใช้สอยต่าง ๆ เป็นต้น

62.       ผลของพัฒนาการแห่งรสนิยมเป็นเช่นไร        

(1) เหมือนกันทุกชาติ

(2)       แตกต่างกันไปตามขนบธรรมเนียมประเพณี  

(3) คล้ายคลึงกันทุกวัฒนธรรม

(4)       ไม่ปรากฏมีพัฒนาการแห่งรสนิยมในสังคมระบอบคอมมิวนิสต์

ตอบ 2 หน้า 5 (S) รสนิยมที่ดีนงานศิลปะ หมายถึง การรู้จักความสัมพันธ์ของโครงสร้างและส่วนประกอบขั้นมูลฐานที่สำคัญของงานศิลปะ โดยต้องพิจารณาถึงรูปลักษณะที่สวยงามและ ประโยชน์ใช้สอยควบคู กันไปด้วย ซึ่งพัฒนาการแห่งรสนิยมที่มีขึ้นของแต่ละชาติจะแตกต่างกัน อันเป็นผลมาจากความแตกต่างของขนบธรรมเนียมประเพณี เชื้อชาติ วัฒนธรรม และประสบการณ์ ของแต่ละบุคคล

63.       ภาพแห่งจินตนาการคือภาพใด

(1) คชสีห์ ลายกนก     

(2) ดอกเบญจมาสสีเหลือง

(3)       รูบปั้นศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี        

(4) ภาพวาดบนผืนผ้าใบชื่อ บ้านชายทุ่ง

ตอบ 1 หน้า 19 (S)31 (S) จินตนาการก้าวไกลหรือความคิดเพ้อฝัน เป็นจินตนาการเหนือความจริง ที่มนุษย์ทำให้แตกต่างไปจากที่ตนเคยเห็น โดยบางทีก็ทำให้ดูลํ้าลึกน่าติดตาม หรือทำให้ชวนสงสัยว่ามีจริงหรือไม่ เป็นไปได้หรืออย่างไร เช่น การที่ช่างเขียนไทยในสมัยก่อน เขียนภาพลายกนก กินรี คชสีห์ นางยักษ์ ม้ามังกร หรือสัตว์ในนิยายโบราณต่าง ๆ

64.       ศิลปะแบบคิวบิสม์ จัดเป็นศิลปะแบบใด

(1) จินตนาการ            (2) กึ่งจินตนาการ        (3) ภาพเหมือนจริง      (4) สเปน

ตอบ     2 หน้า 22138 – 39 (S)57 (S) ศิลปะนามธรรมหรือมโนศิลป์ (Abstract) คือ การถ่ายทอดตามความรู้สึกด้วยใจ โดยการนำเอารูปทรงต่าง ๆ ที่พบเห็นในธรรมชาติมาจัดเสียใหม่ ดังนันจึงอาจจะมีลักษณะกึ่งธรรมชาติ กึ่งนามธรรม และผิดเพี้ยนไปจากธรรมชาติอยู่บ้าง เช่น ศิลปะแบบคิวบิสม์ จัดเป็นศิลปะแบบกึ่งจินตนาการที่มีลักษณะเป็นเหลี่ยม เป็นมุม และบิดเบี้ยว ไม่เป็นรูปทรง แตก็ยังพอพิจารณาดูรูปลักษณะได้ว่าเป็นรูปอะไร

65.       โคลด์ โมเนต์ เป็นศิลปินชนชาติใด

(1) ฝรั่งเศส      (2) อเมริกัน      (3) ยุโรป          (4) สเปน

ตอบ1 หน้า 35 – 36 (S) โคลด์ โมเนต์ (Claude Monet) เป็นศิลปินชาวฝรั่งเศสที่นิยมเขียน ภาพแบบ Impressionist เช่น ภาพเขียนความประทับใจยามรุ่งอรุณ (Impression : Sunrise) ซึ่งศิลปินเขียนด้วยแปรงหยาบ ๆ ทิ้งรอยแปรงไว้ให้แสงของสีผสมกันโดยไม่ต้องเกลี่ยเนื้อสี ให้เสมอกัน

66.       งานศิลปะสำเร็จลงตรงกระบวนการดังนี้

(1)       ศิลปิน-ธรรมชาติ-แรงบันดาลใจ-แสดงออก (2) ศิลปิน-ความชำนาญ-ธรรมชาติ-แสดงออก

(3) ศิลปิน-จินตนาการ-แรงบันดาลใจ-แสดงออก (4) ศิลปิน-จินตนาการ-ธรรมชาติ-แสดงออก

ตอบ1 หน้า 10 – 1136 (S) กระบวนการในการสร้างสรรค์งานศิลปะนั้น เกิดจากการที่ศิลปิน

ได้สัมผัสกับความงามของธรรมชาติแล้วเกิดแรงบันดาลใจหรือเกิดความรู้สึกสะเทือนอารมณ์ และแสดงออกมาเป็นงานศิลปะในรูปแบบต่าง ๆ โดยการตัดทอนเอาเฉพาะส่วนที่สำคัญและ ส่วนที่มีความหมายต่อผู้พบเห็นเท่านั้น

67.       แรงบันดาลใจของศิลปินได้มาจากสิ่งใด        

(1) ธรรมชาติเท่านั้น

(2)       ธรรมชาติและจินตนาการ        (3) ความดีใจเสียใจ     (4) ความสวยงาม

ตอบ 2 หน้า 10 ถึงแม้ว่าธรรมชาติจะเป็นแรงบันดาลใจอันเร้นลับที่ผลักดันให้มนุษย์สร้างงานศิลปะ ออกมาในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง สุดแล้วแต่ประสบการณ์และอารมณ์สะเทือนใจของศิลปินผู้นั้น แต่หากปราศจากอำนาจแห่งความรู้สึกสะเทือนอารมณ์ อันก่อให้เกิดมโนภาพหรือจินตนาการขึ้น ในจิตใจด้วยแล้ว งานศิลปะก็มิอาจสร้างสรรค์ขึ้นมาได้

68.       การเข้าใจศิลปะได้ดีเยี่ยมควรต้องเข้าใจสิ่งใดก่อน

(1) องค์ประกอบของศิลปะ     (2) ธรรมชาติ (3) โครงสร้างของงานศิลปะ      (4) ทฤษฎีสี

ตอบ 2 หน้า 36 (S) การเข้าใจศิลปะจะต้องเข้าใจธรรมชาติซึ่งเป็นสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวก่อนเป็นอันดับแรก นอกจากนี้ยังต้องเข้าใจลึกลงไปถึงส่วนสำคัญอื่น ๆ ที่เป็นความสัมพันธ์ของ โครงสร้างในงานศิลปะ เช่น องค์ประกอบของศิลปะ โครงสร้างของงานศิลปะ และทฤษฎีสี

69.       สตรีสูงอายุแต่งตัวเป็นสาววัยรุ่น เรียกสตรีผู้นี้ว่า

(1) มีรสนิยมพัฒนาการไปตามวัย       (2) ไม่มีพัฒนการทางรสนิยม

(3)       สาวสองพันปี   (4) สาวใหญ่

ตอบ 2 หน้า 4 รสนิยมของคนเราทุกคนจะพัฒนาไปตามวัย และย่อมมีพัฒนาการไปในทางที่ดีขึ้นถ้าเรารู้จักศึกษาและหาประสนการณ์ใหม่ ๆ พร้อมทั้งเอาใจใส่ที่จะเปลี่ยนแปลงปรับปรุงตัวอยู่เสมอ รสนิยมในขั้นพื้นฐานที่มีอยู่ก็จะเกิดมีวิวัฒนาการใหม่และดีขึ้น ยกเว้นแต่ผู้ที่ไม่พยายามจะเอาใจใส่ก้บสิ่ งเหล่านี้เท่านั้น

70.       ในชีวิตประจำวันเราพบกับข้อใดมากที่สุด

(1) วิจิตรศิลป์  (2) ศิลปะประยุกต์ (3) นิเทศศิลป์       (4) อุตสาหกรรมศิลป์

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 61. ประกอบ

71. ศิลปะบริสุทธิ์มีประโยชน์ต่อชีวิตความเป็นอยู่อย่างไร

(1) ช่วยให้มีความสุขสบายใจ 

(2) ช่วยให้รู้จักออกแบบเครื่องแต่งกายได้เหมาะสม

(3) ช่วยให้มีความเป็นอยู่สบายขึ้น      

(4) ช่วยให้มีสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้น

ตอบ หน้า 4 (S)87 (S) ศิลปะบริสุทธิ์หรือประณีตศิลป์ (Fine Art) เป็นงานศิลปะที่คำนึงถึงประโยชน์ ทางจิตใจ คือ ช่วยให้มีความสุขสบายใจ ทำให้เกิดความประทับใจที่ดื่มดํ่า มีความศักดิ์สิทธิ์ ในทางจิต เกิดอารมณ์สะเทือนใจไม่เสื่อมคลายและไม่สูญหายไปจากความทรงจำ ดังนั้นจึง จัดเป็นงานศิลปะอมตะหรือเรียกว่า วิจิตรศิลป์ ซึ่งเป็นศิลปะชั้นสูง ได้แก่ งานจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์

72.       การแสดงออกถึงความซาบซึ้งในความงามทางศิลปะแสดงออกได้

(1) ทางอารมณ์และความร่าเริง           

(2) ทางอารมณ์และสีสัน

(3) ทางอารมณ์และพุทธิปัญญา         

(4) ทางอารมณ์และการออกแบบ

ตอบ3  หน้า 3 (S)12 – 13 (S) สุนทรียรสหรือรสของศิลปะจะก่อให้เกิดความรู้สึกซาบซึ้งในสุนทรียภาพหรือความงามของศิลปะ ซึ่งนับเป็นความเข้าใจที่สำคัญยิ่งของมนุษย์ต่อสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว โดยการแสดงออกถึงความซาบซึ้งในความงามทางศิลปะมีสิ่งสำคัญ 2 ประการ คือ 1. ความซาบซึ้งทางอารมณ์   2. ความซาบซึ้งทางพุทธิปัญญา

73.       จุดมุงหมายในการเรียนศิลปะวิจักษณ์

(1) รู้จักวิธีการเบื้องต้นในการอนุรักษ์ศิลปกรรมของชาติ        

(2) รู้จักพัฒนารสนิยมให้เหมาะสมกับวัย

(3) รู้จักจัดระเบียบของสิ่งของเครื่องใช้ให้ดูสวยงามขึ้น          

(4) รู้จักหลักในการวาดรูปด้วยสีน้ำมัน

ตอบ 1 หน้า 3  จุดมุ่งหมายในการเรียนวิชาศิลปะวิจักษณ์ คือ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและพิจารณางานศิลปะอย่างมีเหตุผล ตลอดจนเข้าใจประวัติความเป็นมาจนสามารถวิเคราะห์ และสังเคราะห์งานศิลปะได้ กล่าวคือ เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งสวยงามเพื่อนำไปใช้ ในชีวิตประจำวัน เกิดทัศนคติที่ดี รู้จักคุณค่าของศิลปกรรม และยังเป็นการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจอย่างมีหลักการ จนสามารถรู้จักวิธีการเบื้องต้นในการอนุรักษ์ศิลปกรรมของชาติได้

74.       ธรรมชาติเป็นแม่แบบให้มนุษย์ เพราะ

(1) ธรรมชาติได้สร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ไว้ไมรู้จักหมดสิ้น (2) ธรรมชาติไม่สามารถปรุงแต่งได้

(3) ธรรมชาติมีความกว้างขวางยิ่งใหญ่           (4) ธรรมชาติให้สิ่งแวดล้อมที่แปลกใหม่เสมอ

ตอบ 1 หน้า 10 – 115 (S) ธรรมชาติได้สร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ไวไมรู้จักหมดสิ้น ไม่ว่าจะเป็นความงาม ความอัปลักษณ์ และรูปลักษณะแบบต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ทั่วไป ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นแรงบันดาลใจ ให้มนุษย์ใช้เป็นแบบในการสร้างงานศิลปะขึ้น ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าธรรมชาติเป็นแม่แบบของศิลปะ หรือเป็นบ่อเกิดแห่งศิลปะ แต่มิใช่ตัวศิลปะ เพราะศิลปะย่อมหมายถึงสิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์ สร้างขึ้นเท่านั้น

75.       ความรู้สึกในด้านความงามเป็นความหมายเกี่ยวกับข้อใด

(1)       ความลงตัว     (2) ความสมสัดส่วน    (3) รสนิยม       (4) ความมีช่องว่างที่พอเหมาะ

ตอบ3  หน้า 6 – 7 (S) ความรู้สึกในด้านความงาม เป็นสิ่งเดียวกับที่เรียกว่ารสนิยม ซึ่งจะค่อย ๆเติบโตไปสู่สิ่งที่ประณีตกว่า ลึกซึ้งกว่า และมีวิวัฒนาการตามลำดับขั้น ยิ่งถ้ามีการศึกษาหาความรู้ ในงานศิลปะอย่างสม่ำเสมอ ก็จะช่วยให้รสนิยมขยับขยายสูงขึ้นไปทีละขั้นโดยที่ผู้นั้นแบบไม่รู้ตัว

76.       เรื่องของศิลปะ กล่าวอีกอย่างหนึ่งได้ว่า คือ   

(1) เรื่องของความงาม

(2)       เรื่องของชีวิตและธรรมชาติ     (3) เรื่องของความมีระเบียบ    (4) เรื่องของกฎเกณฑ์

ตอบ1 หน้า 6 นักปรัชญา ในยุคบัจจุบันมีความเห็นเกี่ยวกับเรื่องของศิลปะแตกต่างไปจากนักปรัชญาสมัยเก่า โดยกล่าวว่า ศิลปะคือการสะท้อนความจริงของชีวิตตามที่เป็นอยู่จริง และความแท้จริงนั้นก็คือเรื่องของความงาม ซึ่งความงามของศิลปะอาจจะหมายถึง การพรรณนาเรื่องราวในชีวิตทั้งในแงดีและไม่ดีก็ได้

77.       ปราชญ์ชาวกรีกให้ความหมายของคำว่า ศิลปะ

(1) ต้องมาจากความดีเทานั้น  (2) ต้องมาจากธรรมชาติ

(3)       ต้องลอกเลียนธรรมชาติ         (4) ต้องสร้างสรรค์ขึ้นมาใหม่

ตอบ 3 หน้า 59 (S) นักปรัชญามักจะกล่าวถึงศิลปะว่า มีพื้นฐานมาจากความงามและความดี โดยนักปราชญ์ชาวกรีก ได้ให้คำนิยามว่า งานศิลปะเป็นการลอกเลียนธรรมชาติ(The Imitation of Nature) เช่น โสเครตีส (Socrates) ได้ให้ความหมายว่า ศิลปะเป็นความงามที่ได้จากธรรมชาติ และต้องมีผลเสริมสร้างทางด้านจิตใจด้วย” ฯลฯ

78.       ภาพลายเส้นชื่อ ทางสายกลาง” เป็นภาพของศิลปินท่านใด

(1) ปรีชา เถาทอง        (2) สวัสดิ์ ตันติสุข        (3) ถวัลย์ ดัชนี (4) เขียน ยิ้มสิริ

ตอบ3 หน้า 18 (S) ภาพวาดลายเส้นชื่อ “ทางสายกลาง” ของถวัลย์ ดัชนี เป็นภาพที่แสดงให้เห็นถึง ความพอดี เหมาะเจาะ ไม่ย่อหย่อน และไม่ตึงเขม็ง เป็นสัจภาวะที่ทั้งกายและจิตพบพุทธธรรม ในมัชฌิมาปฏิปทาหรือทางสายกลางตามคำสอนของพระพุทธเจ้า เข้าสู่ความสะอาด ความสว่าง และความสงบอันเป็นความจริงที่สุดของหัวใจพุทธธรรม

79.       ศิลปะกินระวางนื้อที่ หมายถึง

(1) จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม    (2) ศิลปกรรมที่วางไว้กลางแจ้ง

(3) ศิลปกรรมที่ยกไปมาได้      (4) ประติมากรรมและสถาปัตยกรรม

ตอบ 1 หน้า 840. 87 (S) ศิลปะกินระวางเนื้อที่ (Space Art) บางครั้งก็เรียกว่า ทัศนศิลป์(Visual Art or Plastic Art) หมายถึง ศิลปะที่จำกัดระวางเนื้อที่ส่วนใดส่วนหนึ่งในอากาศ ด้วยปริมาตรของศิลปะเหล่านั้น ซึ่งได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม เป็นต้น

ข้อ 80. – 84. ให้ใช้ตัวเลือกที่เห็นว่ามีข้อความเกี่ยวข้องกันต่อไปนี้เป็นคำตอบ

(1) สถาปัตยกรรม       (2) เรื่องของเส้น สี แสง และเงา          (3) มิเซียม ยิบอินซอย

(4)       ถวัลย์ ดัชนี      (5) ศิลป์ พีระศรี

80.       รูปเหมือนนางมาลินี

ตอบ 5 หน้า 7 (S) ภาพเหมือนของนางมาลินี พีระศรี เป็นผลงานของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ส่วนภาพ สันติคาม” นั้น เป็นผลงานของมิเซียม ยิบอินซอย

81.       วิจิตรศิลป์

ตอบ 1 หน้า 822 (S) วิจิตรศิลป์ (Fine Art) หมายถึง จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม วรรณศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และภาพพิมพ์ ซึ่งเกิดขึ้นจากแรงบันดาลใจของธรรมชาติจนส่งเสริม ให้ศิลปินเกิดความคิดสร้างสรรค์ในงานศิลปะ หริอเป็นศิลปกรรมที่ทำขึ้นจากความสัมพันธ์กัน อย่างประณีตของเส้นและมวลสิ่งหรือสีที่มีความผสมกลมกลืนกันอย่างงดงาม

82.       สันติคาม

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 80. ประกอบ

83.       ภาพดวงอาทิตย์

ตอบ 4 หน้า 29 – 30 (Sภาพดวงอาทิตย์” ผลงานของถวัลย์ ดัชนี เป็นภาพที่เปรียบเทียบให้เห็นถึงดวงอาทิตย์ที่ส่องแสงอันแรงกล้าอย่างสมํ่าเสมอนานนับปีโดยไม่เปลี่ยนแปลง ดังเช่น แมลงกว่าง (ส่วนบนสุดของภาพ) ที่ไม่มีความหวั่นไหว มีความหนักแน่น มั่นคงอย่างสมํ่าเสมอ และ แฝงด้วยอำนาจอันเข้มแข็ง ถึงแม้จะมีความรู้สึกเจ็บปวด หรือโกรธแค้น ลักษณะใบหน้า และท่าทางของแมลงกว่างจะไม่เปลี่ยนแปลง หรือแสดงออกมาให้เห็นได้

84.       ความซาบซึ้งทางอารมณ์

ตอบ 2 หน้า 12 (S) ความซาบซึ้งทางอารมณ์ (Emotional Appreciation) เป็นความรู้สึกบนพี้นฐานแห่งความชื่นชมยินดีและความพึงพอใจที่ได้รับจากการสัมผัสกับความงามในองค์ประกอบของเส้น สี แสง เงา รูปทรง ท่าทาง ถ้อยคำสำนวน และอื่น ๆ อันเป็นความรู้สึกประทับใจหรือสะเทือนใจ

ข้อ 85. – 89. ให้ใช้ตัวเลือกที่เห็นว่ามีข้อความเกี่ยวข้องกันต่อไปนี้เป็นคำตอบ

(1) มิลเลต์       (2) โมเนต์        (3) ชอง แกร์    (4) บอตติเชลลี่            (5) ฟานก๊ะ

85.       รูปปิกัสโซ

ตอน 3 หน้า 23 (S) ภาพเขียนรูปปิกัสโซ (Portrait of Picasso) ผลงานของของ แกร์ (Juan Gris)

86.       การเกิดของเทพีวีนัส

ตอบ4  หน้า 13 (S) ภาพเขียนการเกิดของเทพีวีนัส (The Birth of Venus) ผลงานของบอตติเชลลี่(Botticelli)

87.       ภาพชาวนาเก็บข้าวร่วงหล่นหลังฤดูเก็บเกี่ยว

ตอบ 1 หน้า 33 (S) ภาพเขียนชาวนาเก็บข้าวร่วงหล่นหลังจากฤดูเก็บเกี่ยว ผลงานของมิลเลต์ ซึ่งเป็นศิลปินที่นิยมแสดงความประทับใจในสภาพแวดล้อมธรรมชาติ

88.       คืนที่แวววาวด้วยดวงดาว

ตอบ 5 หน้า 31 – 32 (S) ภาพเขียนคืนที่แวววาวด้วยดวงดาว (The Starry Night) ผลงานของ ฟานโก๊ะ (Van Gogh)

89.       ความประทับใจในยามรุ่งอรุณ

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 65. ประกอบ

90.       ศิลปินที่นิยมแสดงออกด้วยการตัดทอน

(1) ฟานโก๊ะ     (2) โมเนต์        (3) โกแกง        (4) ชอง แกร์

ตอบ 1 หน้า 37 (S) การแสดงออกหรือถ่ายทอดด้วยการตัดทอน (Distortion) เป็นการแสดงออก ที่ศิลปินจะไม่ลอกเลียนธรรมชาติทั้งหมด แต่จะเน้นเฉพาะส่วนสำคัญหรือจุดเด่นที่ก่อให้เกิด อารมณ์สะเทือนใจ ส่วนที่รองลงมาหรือไม่น่าสนใจก็จะตัดทิ้งออกไป ไม่ถ่ายทอดออกมาให้เห็น เช่น ฟานก๊ะ (Van Gogh) เป็นศิลปินที่นิยมแสดงออกด้วยการตัดทอนได้อย่างเหมาะสม

91. ศิลปินที่นิยมแสดงความประทับใจในสภาพแวดล้อมธรรมชาติ

(1) ฟานโกะ     

(2) มิลเลต์       

(3) โคลด์ โมเนต์          

(4) พอล โกแกง

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 87. ประกอบ

92.       ลักษณะเด่นของการเขียนรูปของฟานโก๊ะคือ

(1) ปาดด้วยสีแปรงแล้วไม่เกลี่ยให้เสมอ         

(2) นิยมวาดภาพตัดทอน

(3) นิยมใช้สีสดใส       

(4) นิยมวาดภาพชีวิตชาวนา

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 90. ประกอบ

93.       ศิลปินที่นิยมเขียนภาพแบบ “Impressionist” คือ

(1) ฟานโก๊ะ     

(2)       โมเนต  

(3)       โกแกง 

(4)       บอตติเชลลี่

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 65. ประกอบ

94.       ภาพ เมื่อไหร่คุณจะแต่งงาน” เป็นของใคร

(1) ฟานก๊ะ     (2)       พอล โกแกง     (3)       โมเนต์  (4)       มิลเลต์

ตอบ 2 หน้า 39 (S). 41 (S) ภาพเขียนเมื่อไหร่คุณถึงจะแต่งงาน ผลงานของพอล โกแกง (Paul Gauguin)

95.       ความรู้สึกทางด้านความงามของมนุษย์เกิดขึ้นเมื่อใด

(1) พร้อมกับมนุษย์      (2) ยุคหินเก่า   (3)       ยุคหินใหม่       (4)       มีการก่อสร้างเทวาลัย

ตอบ 1 หน้า 1 (S) ความรู้สึกทางด้านความงาม นับเป็นธรรมชาติของมนุษย์ทุกคนที่มีติดตัวมา แต่กำเนิด เพียงแต่จะมีความแตกต่างกันในด้านการแสดงออกเท่านั้น จึงเป็นที่ยอมรับกัน โดยทั้วไปว่าจุดเริ่มต้นของศิลปะได้กำเนิดขึ้นมาพร้อมกับมนุษย์

96.       ข้อใดเกี่ยวข้องกับความซาบซึ้งทางพุทธิปัญญา

(1) ประติมากรรมศิลปะสุโขทัย           (2) ภาพเขียนพุทธประวัติในโบสถ์วัดสุวรรณาราม

(3) ภาพเหมือนของพอล โกแกง          (4) ถูกข้อ 1 และ 2

ตอบ 4 หน้า 12 – 13 (S), (ดูคำอธิบายข้อ 60. ประกอบ) ความซาบซึ้งทางพุทธิปัญญา (Intellectual Appreciation) เป็นความรู้สึกอันเนี่องมาจากการมีความเข้าใจใน หลักของความงามทางสุนทรียภาพหรือความงามของศิลปะ โดยการรู้ถึงองค์ประกอบ และวิวัฒนาการของศิลปะ

97.       ข้อใดไม่ใช่วิจิตรศิลป์

(1) จิตรกรรม   (2) ประติมากรรม        (3) สถาปัตยกรรม       (4) ภาพถ่าย

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 81. ประกอบ

98.       ข้อใดคือการถ่ายทอดตามความรู้สึกด้วยใจ

(1) นามธรรม   (2) เหมือนจริง (3) ตัดทอน      (4) หุ่นนิ่ง

ตอบ 1 ดูดำอธิบายข้อ 64. ประกอบ

99.       ภาพสามมิติมีลักษณะอย่างไร

(1) แบนราบ    (2) มีความลึกในภาพ

(3) เส้นคมกริบดังคมมีด          (4) รูปทรงเป็นสี่เหลี่ยมคางหมู

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 1. ประกอบ

100.    การแสดงออกด้วยการตัดทอนคืออะไร

(1) ภาพเหมือนจริง      (2) ไม่ลอกเลียนธรรมชาติทั้งหมด

(3) ภาพในชีวิตประจำวัน        (4) ลอกเลียนธรรมชาติ

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 90. ประกอบ

ART1003 ศิลปะวิจักษณ์ การสอบไล่ภาค 2 ปีการศึกษา 2554

การสอบไล่ภาค 2 ปีการศึกษา 2554

ข้อสอบกระบวนวิชา ART 1003 ศิลปะวิจักษณ์

คำสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว ข้อสอบมีทั้งหมด 100 ข้อ

1.         วัฒนธรรมของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์แสดงออกมาในรูปใด

(1)       ภาษา   

(2) อักษร         

(3) ศิลปกรรม  

(4) เพลงร้อง

ตอบ 3 หน้า 47 วัฒนธรรมของมนุษย์ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ มักแสดงออกมาในรูปของศิลปกรรม นับตั้งแต่เครื่องใช้ไม้สอย เครื่องปั้นดินเผา และเครื่องประดับต่าง ๆ ล้วนเป็นสิ่งที่บ่งบอกให้รู้ ถึงความเจริญรุ่งเรืองของสังคม ชีวิตความเป็นอยู่ และเทคโนโลยีในสมัยนั้น ๆ ได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้เพราะมนุษย์ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ยังไม่มีตัวอักษรสำหรับการจดบันทึก

2.         ความรู้ที่เรียกว่า แม่แห่งศิลปะ” คือสิ่งใด

(1)       ความจริงในประวัติศาสตร์     

(2) การเขียนสีนํ้า

(3) สิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวเรา   

(4) ภาพปูนปั้นของสมัยคลาสสิก

ตอบ 3 หน้า 9-10 บ่อเกิดหรือแม่แห่งศิลปะมิได้มาจากธรรมชาติเท่านั้น เพราะสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวเรายอมมีผลเป็นอย่างมากต่อการสร้างสรรค์งานศิลปะ ดังนั้นปัจจัยที่ทำให้เกิดงานศิลปะ จึงประกอบไปด้วยธรรมชาติ ศาสนา ความเชื่อถือ ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ระบบการปกครอง สังคม และวัสดุที่นำมาใช้

3.         คุณค่าทางสุนทรียภาพทางศิลปะ คือ

(1) เป็นการแสดงออกถึงภาพที่ให้ความรู้สึกสะเทือนใจมากที่สุด

(2)       เป็นภาพที่มีการจัดวางเส้น รูปร่าง มวล พื้นผิว และช่องว่างได้อย่างเหมาะสม

(3)       เป็นการแสดงออกถึงลีลา ฝีแปรงที่แข็งกร้าวเด็ดเดี่ยว

(4)       เป็นการแสดงออกถึงสิ่งแปลกใหม่ในงานศิลปะ

ตอบ 2 หน้า 32030 คุณค่าทางสุนทรียภาพของศิลปะหรือคุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) คือ การจัดวางโครงสร้างของศิลปะให้มีองค์ประกอบของเส้น คุณค่า รูปร่าง มวล พื้นผิว และ ช่องว่างให้มีความสมดุล มีสัดส่วน มีช่วงจังหวะ มีความกลมกลืน มีความขัดแย้ง และมีจุดเด่น ในงานศิลปะได้อย่างเหมาะสม

4.         การศึกษาศิลปะอาจกล่าวอีกอย่างหนึ่งได้ว่า

(1)       คือการศึกษาชีวประวัติและผลงานของศิลปิน (2) คือการศึกษาโครงสร้างของงานศิลปะ

(3) คือการกำหนดรูปแบบของภาพเขียนจากผลงาน  (4) คือการศึกษาเรื่องราวของมนุษย์

ตอบ4 หน้า 4 ศิลปกรรมย่อมคู่กับวัฒนธรรมเสมอ เพราะเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นและแสดงออกถึง ความเจริญของสังคม วิถีชีวิตความเป็นอยู่ และความคิดอ่านของศิลปิน จึงได้ถ่ายทอดออกมา เป็นงานศิลปะ ดังนั้นการศึกษาศิลปะจึงอาจกล่าวได้ว่า คือการศึกษาเรื่องราวของมนุษย์” นั่นเอง

5.         การถ่ายทอดงานศิลปะขึ้นอยู่กับ

(1) ความชำนาญในการเลือกเนื้อหา   (2) ทักษะและประสาท

(3) รูปแบบที่กำหนดไว้แล้ว     (4) ส่วนประกอบและเครื่องมือเกี่ยวกับงานศิลปะ

ตอบ 2 หน้า 11 ความรู้สึกในการถ่ายทอดงานศิลปะจะขึ้นอยู่กับทักษะและประสาทสัมผัสของศิลปิน ซึ่งการถ่ายทอดและตัดทอนอาจจะทำได้ 3 ประการ คือ          1. การถ่ายทอดตามความเป็นจริง2. การถ่ายทอดโดยการตัดทอน     3. การถ่ายทอดตามความรู้สึก

6.         จุดมุ่งหมายที่สำคัญอีกประการหนึ่งในการเรียนวิชาศิลปะวิจักษณ์ คือ

(1)       เป็นผู้เชี่ยวชาญในการอนุรักษ์ศิลปกรรมของชาติ

(2)       เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งสวยงามเพื่อนำใช้ในชีวิตประจำวัน

(3)       เข้าใจความเป็นมาของศิลปกรรมชิ้นสำคัญของประเทศจนสามารถอธิบายได้

(4)       มีความชำนาญในการจัดรูปแบบทางด้านศิลปะ

ตอบ 2 หน้า 3 จุดมุ่งหมายในการเรียนวิชาศิลปะวิจักษณ์ คือ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและ พิจารณางานศิลปะอย่างมีเหตุผล ตลอดจนเข้าใจประวัติความเป็นมาจนสามารถวิเคราะห์ และสังเคราะห์งานศิลปะได้ กล่าวคือ เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งสวยงามเพื่อนำไปใช้ ในชีวิตประจำวัน เกิดทัศนคติที่ดี รู้จักคุณค่าของศิลปกรรม และยังเป็นการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจอย่างมีหลักการ จนสามารถรู้วิธีการเบื้องต้นในการอนุรักษ์ศิลปกรรมของชาติได้

7.         ภูเขา ต้นไม้ ใบไม้ จัดเป็นรูปลักษณะทางศิลปะแบบใด

(1) เรขาคณิต  (2) ธรรมชาติ   (3) อิสระ          (4) ที่กำหนดแล้ว

ตอบ 2 หน้า 11 รูปลักษณะของงานศิลปะ แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ 1. แบบธรรมชาติเป็นรูปลักษณะที่ตายตัวไม่เปลี่ยนแปลง เช่น ภูเขา ต้นไม้ ใบไม้ ดอกไม้ มนุษย์ สัตว์ ฯลฯ

2.         แบบเรขาคณิต เป็นรูปลักษณะที่ได้แบบอย่างจากธรรมชาติมาบ้าง เช่น เส้นตรง เส้นโค้ง ฯลฯ

3.         แบบอิสระ เป็นรูปลักษณะที่ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว และเปลี่ยนแปลงไปตามความนิยมหรือ ความเห็นชอบของผู้ประดษฐ์

8.         มนุษย์ สัตว์ จัดเป็นรูปลักษณะของศิลปะแบบใด

(1) ที่กำหนดแล้ว         (2) เรขาคณิต  (3) ธรรมชาติ   (4) อิสระ

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 7. ประกอบ

9.         สุนทรียรสในวิชาศิลปะวิจักษณ์ ให้ความรู้สึกซาบซึ้งในเรื่องใด

(1) ความรัก     (2) ความงาม   (3) ความสวย  (4) ความบันเทิง

ตอบ 2 หน้า 3 (S)12 – 13 (S) สุนทรียรสหรือรสของศิลปะจะก่อให้เกิดความรู้สึกซาบซึ้ง ในสุนทรียภาพหรือความงามของศิลปะ ซึ่งนับเป็นความเข้าใจที่สำคัญยิ่งของมนุษย์ต่อ สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว โดยมีสิ่งสำคัญ 2 ประการ คือ 1. ความซาบซึ้งทางอารมณ์ 2. ความซาบซึ้งทางพุทธิปัญญา

10.       สุนทรียะในวิสัยของธรรมชาติเกี่ยวข้องกับ

(1) ความงาม ความมีระเบียบทางธรรมชาติ    (2) ความกลมกลืนของรูปลักษณะของธรรมชาติ

(3) ความลงตัว ความเหมาะสมของธรรมชาติ (4) ความสวยงามทางสีสันของธรรมชาติ

ตอบ 1 หน้า 12 สุนทรียะในวิสัยของธรรมชาติ หมายถึง สุนทรียะแห่งความมีระเบียบและความงาม โดยธรรมชาติจะมีกฎแห่งสุนทรียะซึ่งก่อให้เกิดความมีระเบียบ ความเหมาะสมกลมกลืน และ ความงามอยู่ทั้งสิ้น ดังนั้นในธรรมชาติจึงมีความงาม ความสะเทือนใจ และให้ความนึกคิด แกผู้พบเห็นเสมอ

11.       ศิลปกรรมที่สูงสุดของมนุษย์

(1)       จำลองแวดล้อมไว้        

(2) สร้างศาสนสถานเพื่อการบูชา

(3) รูปปั้นเทพเจ้าหรือเทพธิดา 

(4) สร้างที่อยู่อาศัย

ตอบ 2 หน้า 2004 (S). 12 (S) ศาสนศิลปะ (Religious Art) หรืองานศิลปกรรมในลัทธิความเชื่อถือ และศาสนา ถือเป็นผลงานสร้างสรรค์ที่สูงสุดและเหนือกว่างานสร้างสรรค์ด้านอื่น ๆ เพราะว่า เป็นงานศิลปะที่เกิดจากความซาบซึ้งทางพุทธิปัญญาที่มีคุณค่าเหนือกว่าศิลปะทั้งหลายที่มนุษย์ ได้สร้างขึ้น เช่น ประติมากรรมพระพุทธรูปในศิลปะสุโขทัย ภาพเขียนพุทธประวัติ โบสถ์ วิหาร หรือศาสนสถานที่สร้างขึ้นเพื่อการบูชาต่าง ๆ เป็นต้น

12.       ยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์แตกต่างจากสมัยประวัติศาสตร์ เพราะยุคก่อนประวัติศาสตร์

(1) ไม่มีตัวอักษร          

(2) ไม่มีเครื่องปั้นดินเผา

(3) ไม่มีกระดาษ          

(4) ไม่มีเครื่องดนตรี

ตอบ 1 หน้า 47114 (S) การแบ่งยุคสมัยของมนุษย์จะใช้ตัวอักษรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง กล่าวคือ ยุคก่อนประวัติศาสตร์นั้นจะยังไม่มีตัวอักษรสำหรับการจดบันทึก การศึกษาศิลปะจึงศึกษาจาก ศิลปะวัตถุและซากโครงกระดูกต่าง ๆ ส่วนยุคประวัติศาสตร์จะมีการใช้ตัวอักษรเพื่อสื่อความหมาย และทำความเข้าใจระหว่างกัน การศึกษาศิลปะจึงศึกษาจากลายลักษณ์อักษรที่ได้จดบันทึกขึ้น

13.       พื้นผิวของไม้มะเกลือให้ความรู้สึก

(1) บางเบา      

(2) ลื่นมัน        

(3) อ่อนหวาน  

(4) เย็นสบายตา

ตอบ 4 หน้า 64 – 65 (S) พื้นผิวของดิน เปลือกไม้ อิฐ พืช เปลือกไข่ ขนสัตว์ ใยไหม ปีกของแมลง หรือไม้มะเกลือขัดมัน ฯลฯ ซึ่งมีลักษณะโดยธรรมชาติเป็นวัสดุที่แข็งและสะท้อนแสงได้อย่างดี จะให้ความรู้สึกเย็น แต่ถ้ามีลายไม้มากหรือมีสีนํ้าตาลเข้มจนเกือบดำจะให้ความรู้สึกอบอุ่นแทน

14.       สีที่มีความอ่อนหวาน คือสีใด

(1)       สีแดง   (2) สีชมพู        (3) สีเหลือง     (4) สีเขียว

ตอบ 2 หน้า 71 (S) ในเรื่องจิตวิทยาของสีนั้นถือว่า สีมีอิทธิพลเหนือจิตใจของมนุษย์โดยทั่วไป ดังนั้นสีจึงสามารถบ่งบอกถึงอารมณ์และความรู้สึกได้เป็นอย่างดี เช่น สีเหลือง หมายถึง ความไพบูลย์สีแดง หมายถึง ความตื่นเต้นเร้าใจสีชมพูหรือสีดอกกุหลาบ หมายถึง ความอ่อนหวานนุ่มนวลสีเขียวและสีนํ้าเงิน หมายถึง ความสงบเงียบ ฯลฯ

15.       สีกลาง คือสีใด

(1) ขาว            (2) น้ำเงิน        (3) นํ้าตาล       (4) เทา

ตอบ 4 หน้า 3467 (S) สีทั้งหลายที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันนั้นเกิดจากการผสมกันของแม่สีที่เรียกว่า แม่สีวัตถุธาตุ ได้แก่            1. สีนํ้าเงิน (Prussian Blue) 2. สีแดง (Crimson) 3. สีเหลือง(Gamboge Tint) ซึ่งสีทั้งสามนี้เมื่อนำมาผสมกันในอัตราส่วนที่เท่า ๆ กันก็จะได้สีกลาง (Neutral Tint) คือ สีเทา แต่ถ้าผสมเข้มจัดจะได้สีดำ

16.       สีตรงกันข้าม คือข้อใด

(1) เทาเข้ม ฟ้าใส         (2) แดง ชมพูอ่อน        (3) เหลือง นํ้าตาล       (4) ส้ม น้ำเงิน

ตอบ 4 หน้า 3669 (S) สีตรงกันข้ามหรือสีคูจะเป็นสีที่ตัดกันอย่างแท้จริง ซึ่งสีบางสีจะเอามาผสมกัน ไมได้เพราะสีจะเน่าและไม่สวย โดยสีชนิดนี้มีมากคู่ด้วยกัน เช่น สีเชียวกับสีแดงเลือดนก,สีเหลืองกับสีม่วงสีนั้าเงินกับสีส้มสีแดงกับสีเขียวนํ้าเงิน ฯลฯ

17.       ศิลปะบริสุทธิ์

(1) ให้ความพอใจ

(2)       ให้ความเพลิดเพลิน    (3) ให้อารมณ์สะเทือนใจ         (4) เป็นศิลปะชั้นสูง

ตอบ 3 หน้า 4 (S)87 (S) ศิลปะบริสุทธิ์หรือประณีตศิลป์ (Fine Art) เป็นงานศิลปะที่คำนึงถึงประโยชน์ทางจิตใจ คือ ช่วยให้มีความสุขสบายใจ ทำห้เกิดความประทับใจที่ดื่มดํ่า มีความศักดิ์สิทธิ์ ในทางจิต เกิดอารมณ์สะเทือนใจไมเสื่อมคลายและไมสูญหยไปจากความทรงจำ ดังนั้นจึง จัดเป็นงานศิลปะอมตะหรือเรียกว่า วิจิตรศิลป์” ซึ่งเป็นศิลปะชั้นสูง ได้แก่ งานจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์

18.       ข้อใดหมายถึงงานนิเทศศิลป์

(1) ภาพเหมือนคุณมาลินี พีระศรี        (2) ภาพหญิงสาวของตูลูส โลเทรค

(3)       ภาพประกอบในนิตยสาร       (4) ภาพพิมพ์ของฮิโรชิเอะ

ตอบ 3 หน้า 102 – 103 (S) งานนิเทศศิลป์ได้เข้าไปเกี่ยวข้องกับวงการธุรกิจและการโฆษณา เช่น การออกแบบเครื่องหมายสัญลักษณ์ การออกแบบลายผ้า ลายกระเบื้องเคลือบ การออกแบบ หนังสือ ภาพประกอบในนิตยสาร ตลอดจนการออกแบบผลิตภัณฑ์จำพวกเครื่องปั้นดินเผา ฯลฯ

19.       ภาพหุ่นนิ่งรูปดอกไม้เกี่ยวข้องกับข้อใด

(1) สีน้ำมัน      (2) ลายเส้น     (3) จิตรกรรม   (4) ประติมากรรม

ตอบ 2 หน้า 36 (S) ภาพเหมือนจริงหรือหุ่นนิ่ง (Still Life) เป็นการแสดงออกตามความเป็นจริง ซึ่งถอดแบบมาจากธรรมชาติอย่างชัดเจน โดยศิลปินจะแสดงความรู้สึกต่าง ๆ ตามที่เข้าใจ และต้องการแสดงออก ได้แก่ การแสดงออกถึงเรื่องราวชีวิตจริง การทำงาน ความยากจน เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน เช่น ภาพหุ่นนิ่งของนักดนตรี ภาพลายเส้นรูปเหมือน ของดอกไม้ต่าง ๆ เป็นต้น

20.       ศิลปกรรมนานาชาติแสดงออกถึงความงามในรูปแบบใด

(1) ความเหมือนกัน     (2) ต่างกันในเรื่องนํ้าหนัก

(3) มีรสนิยมต่างกัน     (4) ต่างกันในเรื่องของสี

ตอบ 3 หน้า 5 (S) รสนิยมที่ดีในงานศิลปะ หมายถึง การรู้จักความสัมพันธ์ของโครงสร้างและส่วนประกอบขั้นมูลฐานที่สำคัญของงานศิลปะ โดยต้องพิจารณาถึงรูปลักษณะที่สวยงามและ ประโยชน์ใช้สอยควบคูกันไปด้วย ซึ่งรสนิยมที่มีขึ้นของแต่ละชาติจะแตกต่างกัน อันมีผลมาจาก ความแตกต่างของขนบธรรมเนียม เชื้อชาติ วัฒนธรรม และประสบการณ์ของแต่ละบุคคล

21.       สิ่งบันดาลใจให้ศิลปินสร้างสรรค์งานศิลปะ

(1) ความสันโดษ          

(2) ความเชื่อเรื่องวิญญาณ

(3) ความสะเทือนอารมณ์        

(4) ความกตัญญูต่อธรรมชาติ

ตอบ3 หน้า 10 ถึงแม้ว่าธรรมชาติจะเป็นแรงบันดาลใจอันเร้นลับที่ผลักดันให้มนุษย์สร้างงานศิลปะ ออกมาในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง สุดแล้วแต่ประสบการณ์และอารมณ์สะเทือนใจของศิลปินผู้นั้น แต่หากปราศจากอำนาจแห่งความรู้สึกสะเทือนอารมณ์ อันก่อให้เกิดมโนภาพหรือจินตนาการขึ้นในจิตใจด้วยแล้ว งานศิลปะก็มิอาจสร้างสรรค์ขึ้นมาได้

22.       ประติมากรรมนูนต่ำคือข้อใด

(1) ภาพปูนปั้นที่เจดีย์จุลประโทน       

(2) ลายจำหลักบนใบเสมา

(3) เหรียญห้าบาทไทย            

(4) พระพุทธรูปบนฐานเตี้ย

บ 3 หน้า 41 – 42 ประติมากรรม คือ ศิลปกรรมซึ่งเป็นรูปทรงสามมิติ มีการกินที่ในอากาศ แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่

1.         ประติมากรรมนูนตํ่า คือ รูปที่ปั้นหรือแกะสลักให้ยื่นออกมาจากแผ่นหลัง โดยมี พื้นแบนราบเสมอกันทั่วทั้งองค์ประกอบ เช่น เหรียญเงินตราต่าง ๆ ฯลฯ

2.         ประติมากรรมนูนสูง คือ รูปปั้นหรือแกะสลักที่นูนออกมาจนเกือบหลุดออกจากแผ่นหลัง

3.         ประติมากรรมลอยตัว คือ รูปปั้นที่ไม่มีแผ่นหลัง สามารถดูได้รอบด้านและทุกระดับแนวดู

23.       ศิลปะสมัยใหม่

(1) มักเป็นศิลปะนามธรรม      

(2) มักประดิษฐ์จากวัสดุแปลกใหม่

(3) มักไมให้ประโยชน์ต่อสิ่งใดเลย      

(4) มักให้ประโยชน์ต่อการขัดเกลาจิตใจ

ตอบ 4 หน้า 42 ศิลปะสมัยใหม่ มักจะถูกสร้างขึ้นมาโดยไมมีจุดมุ่งหมายในประโยชน์ใช้สอยแต่อย่างใด ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นมาลอย ๆ ตามความนึกคิดและความพอใจอันเนื่องมาจากความงามหรือ สิ่งประทับใจอื่น ๆ ของศิลปิน ดังนั้นจึงมีจุดมุ่งหมายที่จะขัดเกลาจิตใจของเราให้ผ่องใส หรืออาจกล่าวอีกอย่างหนึ่งได้ว่าเป็นประโยชน์ทางใจนั่นเอง

24.       ภาพสามมิติ หมายถึง

(1) ภาพเขียนที่มีความลึก       (2) สถาปัตยกรรม (3) ประติมากรรม  (4) ภาพเขียนสีนํ้ามัน

ตอบ 1 หน้า 41221 – 222 ภาพสามมิติได้แบบอย่างการเขียนมาจากศิลปะตะวันตก ดังนั้นจึงมีลักษณะเป็นภาพเขียนที่มีความลึก อันประกอบไปด้วยสี เส้น แสง และเงา ผิดกับภาพเขียนของ ศิลปะตะวันออกที่มักจะประกอบไปด้วยสีและเส้นเท่านั้น ทำให้ภาพเขียนมีลักษณะเป็นรูปแบน ๆ หรือเป็นภาพสองมิติที่ไม่มีความลึก ซึ่งเป็นลักษณะพิเศษของภาพจิตรกรรมฝผนังไทย

25.       ศิลปะกินระวางเนื้อที่ หมายถึง

(1) ศิลปะบริสุทธิ์         (2) ศิลปะประยุกต์      (3) ทัศนศิลป์   (4) ภาพเขียน

ตอบ 3 หน้า 84087 (S) ศิลปะกินระวางเนื้อที่ (Space Art) บางครั้งก็เรียกว่า ทัศนศิลป์(Visual Art or Plastic Art) หมายถึง ศิลปะที่จำกัดระวางเนื้อที่ส่วนใดส่วนหนึ่งในอากาศ ด้วยปริมาตรของศิลปะเหล่านั้น ซึ่งได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม เป็นต้น

26.       ศิลปะยุคทองของศิลปะในแต่ละประเทศ

(1) นิยมความสวยงามแบบเดียวกัน   (2) แสดงออกถึงความอ่อนหวาน

(3) เปลี่ยนแปลงไปตามความนิยมของยุคสมัย           (4) ไมเป็นที่นิยมของยุคต่อมา

ตอบ 3 หน้า 39 – 40 ศิลปะยุคทอง เป็นศิลปวัฒนธรรมของแต่ละชาติที่มีความเจริญคลี่คลายถึง จุดสูงสุด มีลักษณะเป็นอุดมคติของตนเอง และมีความสวยงามจนไม่มีศิลปะสมัยใดเทียบได้ แต่ความนิยมในเรื่องความงามอันถือว่าเป็นยุคทองของศิลปกรรมนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงไปตาม คตินิยม วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีของกลุ่มศิลปินในแต่ละยุคแต่ละสมัย

ข้อ 27. – 31. ให้ระบายหมายเลข 1 เมื่อเห็นว่าถูก และระบายหมายเลข 2 เมื่อเห็นว่าผิด

27.       สภาพแวดล้อมและประเพณีในสังคมที่แตกต่างกันย่อมทำให้ศิลปกรรมมีรูปแบบที่ต่างกัน

ตอบ 1 หน้า 16. 19 สภาพแวดล้อม (ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ฯลฯ) วัสดุที่นำมาใช้ สภาพลังคมประเพณี และระบบการปกครองที่แตกต่างกัน ย่อมมีผลทำให้แบบอย่างและลักษณะของงาน ศิลปะแตกต่างกันไปด้วย เช่น ในประเทศที่ฝนตกชุกก็นิยมทำหลังคายื่นยาวออกมาเพื่อกันแดด และคุ้มฝน ส่วนประเทศที่แห้งแล้งก็มักทำหลังคางอนโค้งเพี่อรองรับนํ้าฝน เป็นต้น

28.       ความเข้าใจในศิลปะย่อมสามารถพัฒนารสนิยมของคนให้ดีขึ้น

ตอบ 1 หน้า 4 นักปราชญ์และศิลปินทั้งหลายให้ความเห็นว่า ความรู้สึกซาบซึ้งและเข้าใจในศิลปะ หรือการประจักษ์ในด้านความงาม เป็นสิ่งสำคัญที่สุดที่จะช่วยพัฒนารสนิยมของคนให้ดีขึ้น ซึ่งถ้าคนเรารู้จักศึกษาและหาประสบการณ์ใหม่ ๆ พร้อมทั้งเอาใจใส่ที่จะเปลี่ยนแปลงและ ปรับปรุงตัวเองอยู่เสมอ รสนิยมในขั้นพื้นฐานที่มีอยู่ก็จะเกิดมีวิวัฒนาการใหม่และดีขึ้น

29.       วัฒนธรรมย่อมคู่กับศิลปกรรมเสมอ

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 4. ประกอบ

30.       ศิลปกรรมย่อมบ่งบอกถึงวิถีชีวิตของคนในยุคนั้น ๆ

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 4. ประกอบ

31. ศิลปินในยุคปัจจุบันมีความเห็นว่าศิลปะย่อมมีพื้นฐานมาจากความงามและความดี

ตอบ 2 หน้า 5-6 นักปรัชญาสมัยเก่ามักจะกล่าวถึงศิลปะว่ามีพื้นฐานมาจากความงามและความดี ในขณะที่นักปรัชญาในยุคปัจจุบันกลับมีความเห็นเกี่ยวกับเรื่องของศิลปะแตกต่างไปจาก นักปรัชญาสมัยเก่า โดยกล่าวว่า ศิลปะคือการสะท้อนความจริงของชีวิตตามที่เป็นอยู่จริง และความแท้จริงนั้นก็คือความงาม ซึ่งความงามของศิลปะอาจจะหมายถึงการพรรณนาเรื่องราว ในชีวิตทั้งในแงดีและไม่ดีก็ได้

ข้อ 32. – 36. จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคำถาม

(1) เพลโต        (2) ศิลป์ พีระศรี           (3) ลียอป ตอลสตอย

(4)       แรงบันดาลใจ  (5) นักโบราณคดี

32.       ศิลปกรรม

ตอบ 4 หน้า 7 ศิลปกรรมเป็นงานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์อันมีธรรมชาติเป็นแรงบันดาลใจ ซึ่งอาจจะเป็นสิ่งสวยงามหรือไม่ก็ได้ แต่ต้องมีส่วนช่วยเสริมสร้างจิตใจของมนุษย์ให้สูงขึ้น และศิลปะนั้นอาจแสดงออกมาในรูปที่เป็นศีลธรรมหรือไม่ก็ได้

33.       ศิลปะเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ

ตอบ 1 หน้า 6 เพลโต (Plato) มีความเห็นเกี่ยวกับศิลปะว่า ศิลปะเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ ผู้ที่จะเข้าใจและนิยมความงามในศิลปะได้มีเพียงนักปรัชญาเท่านั้น

34.       ศิลปะเป็นหลักฐานอ้างอิงทางประวัติศาสตร้

ตอบ 5 หน้า 7 นักโบราณคดี เห็นว่า ศิลปกรรมย่อมเป็นสิ่งสำคัญที่บ่งบอกถึงความเจริญในอดีต และศิลปะย่อมเป็นหลักฐานอ้างอิงทางประวัติศาสตร์ได้ดีที่สุด

35.       ศิลปะเป็นสะพานที่เชื่อมคติความเชื่อทางวัตถุและจิตใจ

ตอบ 2 หน้า 6 ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ได้ให้ความหมายของศิลปะว่า ศิลปะเป็นสะพานที่เชื่อม คติความเชื่อทางวัตถุกับทางจิตใจ เมื่อผู้ใดเข้าใจและรู้คุณค่าของศิลปะแล้วผู้นั้นก็อาจจะถึง ซึ่งความสุขที่แท้จริง

36.       ความประณีตไม่ใช่งานศิลปะ

ตอบ 3 หน้า 5-6 ลียอป ตอลสตอย (Lyof Talstoy) กล่าวถึงความหมายของศิลปะว่า ศิลปะที่มี ความประณีต ความงาม และความบันเทิงเริงใจนั้นหาใช่เป็นศิลปะไม่ แต่เป็นเพียงงานฝีมือ เพราะเป็นงานที่ขาดเงื่อนไขที่จำเป็นอย่างยิ่งของศิลปะ

ข้อ 37. – 41. จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคำถาม

(1) ศิลปะประยุกต์      (2) การแสดงออก        (3) มัณฑนศิลป์

(4) ธรรมชาติ   (5) วิจิตรศิลป์

37.       จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม วรรณศิลป์ และดุริยางคศิลป์ หมายถึง       

ตอบ 5 หน้า 822122 (S) วิจิตรศิลป์ (Fine Art) หมายถึง จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม วรรณศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และภาพพิมพ์ ซึ่งเกิดขึ้นจากแรงบันดาลใจของธรรมชาติจนส่งเสริม ให้ศิลปินเกิดความคิดสร้างสรรค์นงานศิลปะ หรือเป็นศิลปกรรมที่ทำขึ้นจากความสัมพันธ์กัน อย่างประณีตของเส้นและมวลสิ่งหรือสีที่มีความผสมกลมกลืนกันอย่างงดงาม

38.       ต่างหูและกำไลแขนจัดว่าเป็น            

ตอบ1  หน้า 8 – 93 – 4 (S)127 (S) ศิลปะประยุกต์ (Applied Art) คือ ศิลปะที่ตั้งใจสร้างหรือประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อประโยชน์ใช้สอย หรือเพื่อประโยชน์แกชีวิตประจำวันอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เครืองประดับ (ต่างหู กำไลแขน) เครื่องจักร ผ้า เครื่องหนัง เครื่องเคลือบ รวมทั้งสะพานส่งนํ้า หรือเขื่อนกั้นนํ้าของศิลปะโรมัน ฯลฯ ซึ่งอาจจะแบ่งย่อยออกไปเรียกว่า พาณิชย์ศิลป์หรือ อุตสาหกรรมศิลป์” แต่ถ้าหากประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อประดับตกแต่งในอาคารสถานที่ก็จะเรียกว่า มัณฑนศิลป์” เช่น การออกแบบเครื่องเรือน โต๊ะ เก้าอี้ ฯลฯ

39.       ศิลปะสำหรับประดับตกแต่งอาคารสถานที่เรียกว่า 

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 38. ประกอบ

40.       สิ่งสำคัญอย่างหนึ่งของงานศิลปะ คือ 

ตอบ 2 หน้า 10 การแสดงออก (Expression) ถือเป็นกระบวนการขั้นสุดท้ายที่มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานศิลปะอย่างยิ่ง กล่าวคือ ถ้าเกิดอารมณ์สะเทือนใจจนก่อให้เกิดมโนภาพขึ้น ในจิตใจแต่มิได้แสดงออก งานศิลปะก็ไมอาจสร้างสรรค์ขึ้นได้

41.       ทรัพยากรทางความคิดของศิลปิน คือ 

ตอบ.4 หน้า 10 – 11 ในการสร้างสรรค์งานศิลปะนั้น ธรรมชาติ ศิลปิน และการแสดงออกย่อมมี ความสัมพันธ์และส่งผลต่อกันจนไม่สามารถจะแยกสิ่งใดสิ่งหนึ่งออกได้ ทั้งนี้เพราะธรรมชาติ เปรียบเสมือนเป็นทรัพยากรทางความคิดให้ศิลปินสร้างสรรค์งานศิลปะ โดยดัดแปลงคิดค้น หารูปลักษณะแบนใหม่ ๆ เพื่อรับใช้สังคมอย่างไมรู้จักจบสิ้นนั่นเอง

42.       พระพุทธรูปคันธารราฐมีการครองจีวรแบบใด

(1) ห่มคลุมพระอังสาทั้งสองข้าง จีวรเป็นริ้ว    

(2) ห่มเปิดพระอังสาขวา

(3) ห่มเปิดพระอังสาซ้าย         

(4) ห่มคลุมพระอังสาทั้งสองข้าง จีวรเรียบ

ตอบ 1 หน้า 93 – 94 พระพุทธรูปสมัยคันธารราฐของอินเดียจะมีความสวยงามตามแบบศิลปะกรีก อย่างชัดเจน ซึ่งจะเห็นได้จากพระพักตร์ พระเกศา และการครองจีวรที่แทบจะไม่มีลักษณะ ของอินเดียเหลืออยู่เลย คือ มีการครองจีวรห่มคลุมพระอังสา (บ่าหรือไหล่) ทั้ง 2 ข้าง โดยมีจีวรแนบกันมากับพระองค์ และมีริ้วนูนหนาเป็นวงโค้งซ้อนกันทางด้านหน้า

43.       หัวเสาแบบโครินเธียน เป็นอิทธิพลของศิลปะใด

(1) กรีก            

(2) อียิปต์        

(3) เปอร์เซีย    

(4) เมโสโปเตเมีย

ตอบ 1 หน้า 94 – 95121 – 122 (S) สถาปัตยกรรมในศิลปะคันธารราฐของอินเดียจะได้รับอิทธิพล จากศิลปะกรีก เช่น การนิยมทำหัวเสาแบบโครินเธียน (Corinthian) ซึ่งมักจะประดับลวดลาย ด้วยเครื่องประดับต่าง ๆ บนหัวเสา เช่น ลายใบอาคันธัส ลายใบปาล์ม ลายพวงองุ่น และ ลายกามเทพแบกพวงมาลัย ฯลฯ

44.       ยกชายจีวรขึ้นระหว่างพระโสณี

(1) พระพุทธรูปคันธารราฐ       (2) พระพุทธรูปมถุรา

(3) พระพุทธรูปอมราวดี           (4) พระพุทธรูปคุปตะ

ตอบ 2 หน้า 95, (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 55) การครองจีวรของพระพุทธรูปมถุราจะเป็นแบบใหม่ คือ ครองเฉพาะจีวรและสบงโดยไม่ปรากฏว่ามีสังฆาฏิ และมักห่มเฉียง เปิดพระอังสาซ้าย พระหัตถ์ซ้ายมักยกชายจีวรขึ้นระหว่างพระโสณี (ตะโพก)

45.       สถาปัตยกรรมที่สำคัญของศิลปะสมัยอมราวดี คือ

(1) ศาสนสถานที่สลักลึกเข้าไปในภูเขา          (2) สถูปสำหรับบรรจุพระบรมอัฐิของพระพุทธเจ้า

(3) ศาสนสถานที่สร้างขึ้นกลางแจ้ง    (4) พระเจดีย์สำหรับบรรจุพระบรมอัฐิของพระพุทธเจ้า

ตอบ 2 หน้า 97 – 98 ศิลปะอมราวดี (พุทธศตวรรษที่ 7-9) เจริญขึ้นทางตอนใต้ของประเทศอินเดีย แถบลุ่มแม่น้ำกฤษณาโดยเฉพาะที่เมืองอมราวดี นาคารชุนิโกณฑะ ชัคคัยยะเปฎะ และโคลิ ภายใต้การอุปถัมภ์ของราชวงศ์สัตตวาหนะ เมื่อประมาณต้นพุทธศตวรรษที่ 6 โดยมีสถาปัตยกรรม ที่สำคัญที่สุด คือ สถูปสำหรับบรรจุพระบรมอัฐิธาตุของพระพุทธเจ้า

46.       ศิลปะอินเดียที่เจริญขึ้นแถบแม่นํ้ากฤษณา คือ

(1) ศิลปะคันธารราฐ   (2) ศิลปะมถุรา            (3) ศิลปะอมราวดี       (4) ศิลปะคุปตะ

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 45. ประกอบ

47.       พระพุทธรูปอินเดียเริ่มเป็นแบบอย่างของศิลปะอินเดียอย่างแท้จริงในสมัยใด

(1) สมัยคันธารราฐ      (2) สมัยมถุรา  (3)       สมัยคุปตะ       (4) สมัยอมราวดี

ตอบ     2 หน้า 959799 พระพุทธรูปอินเดียเริ่มเป็นแบบอย่างของศิลปะอินเดียในสมัยมถุรา(พุทธศตวรรษที่ 7-8) แต่ความเป็นอินเดียอย่างแท้จริงและลักษณะของมหาบุรุษปรากฏขึ้น อย่างครบครันในพระพุทธรูปสมัยอมราวดี (พุทธศตวรรษที่ 7-9) ซึ่งถือได้ว่ามีความงาม ตามแบบอินเดียโดยแท้ เพราะไม่เห็นลักษณะของอิทธิพลต่างชาติเลย

48.       มหาวิทยาลัยนาลันทาในอินเดียเป็นมหาวิทยาลัยแห่งอะไร

(1) พุทธศาสนา           (2) ศาสนาพราหมณ์    (3)       ศาสนาอิสลาม (4) ศาสนาเชน

ตอบ1 หน้า 213152 (S) มหาวิทยาลัยนาลันทาในอินเดีย เป็นงานสถาปัตยกรรมในสมัยศิลปะปาละ-เสนะ ซึ่งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ถือเป็นมหาวิทยาลัยแห่งพุทธศาสนา โดยเป็นศูนย์กลางใหญ่ ของพุทธศาสนาลัทธิตันตระ อยูในแคว้นเบงกอล

49. ยุคทองของศิลปะอินเดียเจริญขึ้นในระหว่างพุทธศตวรรษที่เท่าใด

(1) ที่ 3 – 5       (2) ที่ 5 – 7       (3)       ที่ 7 – 9 (4) ที่ 9 – 11

ตอบ4 หน้า 100109 ยุคทองของศิลปะอินเดียซึ่งเป็นศิลปะที่มีความงามสูงสุด คือ ศิลปะสมัยคุปตะ ที่เจริญขึ้นในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 9-11 ภายใต้การอุปถัมภ์ของราชวงศ์คุปตะ และในยุคนี้ ยังเป็นยุคแห่งความเจริญรุ่งเรืองทางด้านปรัชญาการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องในศาสนาอีกด้วย

50.       พระพุทธรูปยุคทองของอินเดียเริ่มเสื่อมลงหลังพุทธศตวรรษที่เท่าใด

(1) ที่ 12          (2) ที่ 13          (3) ที่ 14          (4) ที่ 15

ตอบ 1 หน้า 101 – 103พระพุทธรูปสมัยคุปตะ ซึ่งเป็นพระพุทธรูปยุคทองของอินเดียเริ่มเสื่อมลงเมื่อหมดสมัยของพระเจ้ากุมารคุปต์ในพุทธศตวรรษที่ 12 และหลังจากนี้เป็นต้นไปประติมากรรม ต่าง ๆ จะมีร่างกายหนักทึบและเพิ่มลวดลายมากขึ้น ส่วนภาพเขียนที่เป็นภาพบุคคลนั้นก็จะเพิ่ม รายละเอียดและเครื่องประดับ ทำให้ภาพบุคคลเดี่ยว ๆ ดูแข็งกระด้างไม่มีชีวิตจิตใจอีกต่อไป

51.       พระพุทธรูปทวารวดียุคแรกได้รับอิทธิพลของศิลปะใด

(1) ศิลปะอมราวดี คุปตะ หลังคุปตะ  

(2) ศิลปะขอมแบบปาปวน

(3) ศิลปะพื้นเมือง       

(4) ศิลปะอิสลาม

ตอบ 1 หน้า 123 – 124 พระพุทธรูปทวารวดีแบ่งเป็น 3 รุ่นดังนี้ 1. รุ่นที่ 1 หรือพระพุทธรูปยุคแรก ได้รับอิทธิพลของศิลปะอมราวดี คุปตะและหลังคุปตะ มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 12

2.         รุ่นที่ 2 ได้รับอิทธิพลของศิลปะพื้นเมืองมากยิ่งขึ้น มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 13-15

3.         รุ่นที่ 3 ได้รับอิทธิพลของศิลปะขอมแบบปาปวนหรือศิลปะลพบุรีตอนต้น มีอายุราว พุทธศตวรรษที่ 15 ลงมา

52.       ศาสนสถานในศิลปะคุปตะ

(1) ได้รับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ์            

(2) นิยมทำหลังคาเป็นชั้น ๆ

(3) นิยมสลักลึกเข้าไปในภูเขา            

(4) นิยมสร้างสถูปเป็นพื้น

ตอบ 1 หน้า 102 สถาปัตยกรรมในสมัยคุปตะจะนิยมสร้างไว้กลางแจ้ง โดยในสมัยพระเจ้าจันทรคุปต์ ที่ 2 พุทธศาสนสถานที่สร้างขึ้น เช่น โบสถ์ วิหาร สถูป ฯลฯ มักจะเลียนแบบจากเทวาลัยของ ศาสนาพราหมณ์ ซึ่งลักษณะทางสถาปัตยกรรมเช่นนี้ได้ให้อิทธิพลต่อการสร้างเจดีย์ของพม่า (Pagoda) และบุโรพุทโธของอินโดนีเซียด้วย

53.       เมื่อประติมากรรมและภาพเขียนในศิลปะคุปตะเสื่อมลงแล้ว

(1) นิยมเพิ่มรายละเอียดและเครื่องประดับมากขึ้น 

(2) นิยมเพิ่มตัวบุคคลในภาพมากขึ้น

(3) นิยมใช้สีสันสดและหลายสีมากยิ่งขึ้น       

(4) นิยมทำภาพเคลื่อนไหวมากยิ่งขึ้น

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 50. ประกอบ

54.       พระพุทธรูปสมัยคุปตะของอินเดีย

(1)       มีความงามอย่างเรียบง่าย แต่รูปประติมากรรมหนักทึบ

(2)       มักนิยมห่มคลุมพระอังสาสองข้าง จีวรเป็นริ้ว เป็นพระพุทธรูปกรีก

(3)       ขมวดพระเกศาวนขวา นิยมห่มเฉียงเปิดพระอังสาซ้าย จีวรเป็นริ้ว

(4)       นิยมแสดงให้เห็นว่าพระพุทธองค์ทรงเป็นทั้งพระมหากษัตริย์และเทวดา

ตอบ4 หน้า 101 พระพุทธรูปสมัยคุปตะของอินเดียจะไม่นิยมแสดงให้เห็นว่าพระพุทธรูปเป็นมนุษย์ อย่างแท้จริง แต่เป็นทั้งพระมหากษัตริย์และเทวดา หรืออาจจะกล่าวได้ว่าเป็นกึ่งมนุษย์กึ่งเทวดา ก็ได้ ดังเช่นที่ช่างคุปตะไม่ได้แสดงให้เห็นมุกขลึงค์อันเป็นลักษณะที่แสดงให้รู้ถึงเพศเลย

55.       ภาพเขียนในสมัยคุปตะ

(1)       เมื่อทำภาพสามมิติ ช่างนิยมทำภาพที่อยู่ใกล้ใหญ่และอยู่ไกลเล็กลง

(2)       เมื่อทำภาพสามมิติ ช่างนิยมทำเป็นภาพซ้อน ๆ กันขึ้นไป

(3)       เมื่อทำภาพสามมิติ ช่างนิยมทำภาพที่ต้องการเน้นให้ใหญ่เป็นพิเศษ

(4)       เมื่อทำภาพสามมิติ ช่างนิยมแบ่งภาพออกเป็นช่วง ๆ

ตอบ 2 หน้า 103 ภาพเขียนในสมัยคุปตะจะนิยมเขียนแบ่งเป็นช่วง ๆ และมีลาดลายประดับตกแต่ง ส่วนการทำภาพให้เป็นสามมิตินั้น ช่างคุปตะนิยมทำเป็นภาพซ้อน ๆ กันขึ้นไป โดยภาพบุคคล ที่อยู่ไกลจะเขียนให้รูปเล็กลง จึงทำให้เกิดเป็นภาพสามมิติขึ้นมาได้

56.       ลักษณะพิเศษของศิลปะปาละ-เสนะ คือประติมากรรม

(1) หนักทึบ ไม่มีความงามแต่อย่างใด (2) มักมีแผ่นหลังประกอบ

(3) ตั้งอยู่บนฐานที่สูงขึ้น         (4) มีรูปอวบอ้วน ชายสังฆาฏิยาวจรดพระนาภี

ตอบ 2 หน้า 105 ลักษณะพิเศษของศิลปะปาละและเสนะ คือ มักมีแผ่นหลังประกอบ ซึ่งมีลวดลาย ประดับอยู่มากมายติดอยู่กับพระพุทธรูป โดยพระพุทธรูปส่วนใหญ่ในสมัยนี้มักเป็นพระพุทธรูป ทรงเครื่องที่หล่อด้วยสำริดและสร้างด้วยศิลา แต่ไม่มีความสวยงามเลย

57.       สมัยหินกลาง หมายถึง

(1) ยุคสมัยหนึ่งของสมัยก่อนประวัติศาสตร์   (2) สมัยกลางของสมัยก่อนประวัติศาสตร์

(3) สมัยที่คนสมัยหินรู้จักใช้หินเป็นอาวุธ        (4) สมัยที่คนสมัยหินรู้จักใช้เหล็กเป็นอาวุธ

ตอบ1 หน้า 49 – 5663 – 68. 75 ยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์ทั้งของยุโรปและของไทยแบ่งออกเป็น 4 ยุค คือ 1. ยุคสมัยหินเก่า 2. ยุคสมัยหินกลาง 3. ยุคสมัยหินใหม่

4.         ยุคสมัยโลหะ

58.       จิตรกรรมในสมัยโบราณมักพบ

(1) ตามถ้ำ       (2) ตามแผ่นจารึก        (3) ตามฐานพระพุทธรูป          (4) ตามแผ่นหิน

ตอบ 1 หน้า 49 – 51 จิตรกรรมในสมัยโบราณก่อนประวัติศาสตร์มักพบตามถํ้า เช่น ตามผนังถํ้า และเพดานถ้ำที่อยู่ลึกจากปากถ้ำเข้าไป บางครั้งจึงเรียกว่า ศิลปะถํ้า” โดยถํ้าแรกสุดที่พบ จิตรกรรมภาพเขียนของคนก่อนประวัติศาสตร์ที่เก่าที่สุด คือ ถํ้า. Altamira ที่อยู่ทางตอนเหนือ ของสเปน โดยพบภาพเขียนเป็นภาพกวางตัวเมีย ส่วนที่ถํ้า Laussel ในฝรั่งเศส ได้พบภาพเขียน เป็นภาพสัตว์ เช่น รูปม้า วัวไบซัน และกวาง

59.       Dolmens คือสิ่งใด

(1) หินตั้ง         (2) โต๊ะหิน       (3) หินตั้งเป็นวงกลม   (4) หินตั้งเป็นแถวขนาน

ตอบ 2 หน้า 72, (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 37 – 38) วัฒนธรรมหินใหญ่ เป็นวัฒนธรรมของ คนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่รู้จักนำเอาก้อนหินมาก่อสร้างอย่างง่าย ๆ ให้เป็นรูปต่าง ๆ ดังนี้

1.         โต๊ะหิน (Dolmens) 2. หินตั้ง (Standing Stone) หรือแท่งหินที่ตั้งอยู่โดดเดี่ยว (Menhirs) 3. หินตั้งเป็นวงกลม (Stone Circles or Comlechs) 4. หินตั้งเป็นแถวขนาน (Alignments)

60.       ประติมากรรมของคนสมัยหินนั้นมักแสดงออกถึงสิ่งใด

(1) ความต้องการให้ฝนฟ้าตกตามฤดูกาล      (2) ความมีบุตรหลานมากมาย

(3) ความมั่งมีศรีสุข     (4) ความอุดมสมบูรณ์

ตอบ 4 หน้า 51 ประติมากรรมที่ทำขึ้นครั้งแรกของคนสมัยหินหรือสมัยก่อนประวัติศาสตร์

จะนิยมทำเป็นรูปผู้หญิงไม่มีหน้าตา แต่มีรูปร่างอ้วน แสดงว่าประติมากรรมที่ทำขึ้นมานี้ มีความเกี่ยวข้องกับความอุดมสมบูรณ์ และแสดงออกถึงการนับถือเพศแม่อย่างชัดเจน เช่น พบประติมากรรมลอยตัวที่ประเทศเยอรมนี ลือ วีนัส วีเลนดอร์ฟ (Venus of Willendorf)ซึ่งเป็นเทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์

61.       หุบเขานามาดาของอินเดียมีความสำคัญ คือ

(1) เป็นแหล่งที่พบภาพเขียนที่ถํ้ามากที่สุด     

(2) เป็นแหล่งที่มีทิวทัศน์สวยงามมากที่สุด

(3) เป็นแหล่งที่พบขวานหินมากที่สุด  

(4) เป็นแหล่งที่พบภาชนะที่ทำด้วยโลหะมากที่สุด

ตอบ 1 หน้า 216, (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 38) ถํ้าในหุบเขานามาดา (Namada) ของประเทศอินเดีย เป็นแหล่งที่พบจิตรกรรมภาพเขียนฝาผนังสมัยก่อนประวัติศาสตร์ มากที่สุด โดยรูปภาพและเทคนิคการเขียนจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับภาพเขียนในถํ้าที่พบ ในประเทศสเปนและฝรั่งเศส

62.       ศาสนาพุทธเจริญขึ้นในแคว้นใดของอินเดีย

(1) แคว้นปัญจาบ        

(2) แคว้นอัสสัม           

(3) แคว้นมคธ  

(4) แคว้นสินธุ

ตอบ 3 หน้า 90 พระพุทธศาสนาเจริญขึ้นในแคว้นมคธหรือมคธราฐในสมัยพระเจ้าพิมพิสาร และ เจริญขึ้นถึงขีดสุดในสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราชราวพุทธศตวรรษที่ 3 ดังนั้นในยุคแรกเริ่ม ของการทำศิลปกรรมอินเดียนี้ พุทธศาสนาจึงมีบทบาทเป็นอย่างมาก

63.       สถาปัตยกรรมในยุคแรกเริ่มของอินเดีย

(1) มีความเรียบง่ายมากที่สุด  

(2) มักเจาะลึกเข้าไปในภูเขา

(3) มักสร้างด้วยดินเหนียวและไม้       

(4) มักพบตามถํ้า

ตอบ 3 หน้า 90 นักโบราณคดีให้ความเห็นว่า สถาปัตยกรรมในยุคแรกเริ่มของอินเดียนั้นคงจะ

สร้างด้วยดินเหนียวและไม้ซึ่งแตกสลายได้ง่าย ดังนั้นจึงไม่เหลือร่องรอยให้คนรุ่นหลังได้เห็น ทำให้สถาปัตยกรรมและศิลปกรรมที่เหลืออยู่ไมเก่าไปกว่าพุทธศตวรรษที่ 3 แม้ว่าพุทธศาสนา จะเจริญขึ้นในอินเดียตั้งแต่พุทธกาลมาแล้วก็ตาม

64.       สถาปัตยกรรมเก่าสุดที่พบในอินเดียไม่เก่าไปกว่า

(1) พุทธศตวรรษที่ 1    (2) พุทธศตวรรษที่ 2    (3) พุทธศตวรรษที่ 3    (4) พุทธศตวรรษที่ 4

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 63. ประกอบ

65.       พุทธศิลปะในยุคแรกเริ่มของอินเดีย

(1) มักเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงพุทธประวัติ  (2) มักเป็นพระพุทธรูปประทับนั่งสมาธิ

(3) มักเป็นพระพุทธเจดีย์        (4) มักเป็นศาสนสถาน

ตอบ 4 หน้า 91 พุทธศิลปะในยุคแรกเริ่มของอินเดียที่เหลือร่องรอยไว้ให้ชนรุ่นหลังได้เห็นเก่าสุด คือ ศิลปกรรมในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช พุทธศตวรรษที่ 3 ที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะกรีก และอิหร่าน (เปอร์เซีย) เช่น มักสร้างเป็นศาสนสถานที่เจาะลึกเข้าไปในภูเขา โดยมีลักษณะเป็นถํ้า ซึ่งมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ เป็นถํ้าวิหาร และถํ้าเจดีย์สถาน

66.       พระพุทธรูปคันธารราฐเกี่ยวข้องกับข้อใด

(1) มีความสวยงามตามธรรมชาติ       (2) มีความสวยงามตามแบบศิลปะกริก

(3) มีความสวยงามตามแบบศิลปะอินเดีย      (4) มีความสวยงามที่เรียบง่ายมาก

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 42. ประกอบ

67.       จิตรกรรมตามผนังถํ้าของอินเดียเก่าสุดอยู่ในสมัยใด

(1) สมัยหินเก่า            (2) สมัยหินกลาง         (3) สมัยหินใหม่           (4) สมัยโลหะ

ตอบ 2 หน้า 5875 จิตรกรรมตามผนังถํ้าของอินเดียที่เก่าที่สุดอยู่ในสมัยหินกลาง โดยมีการพบ หลักฐานที่ถํ้า The Great Billa Surgam Cave ใน Kurnool ซึ่งลักษณะของการเขียนภาพ ที่ปรากฏในถํ้าไม่ว่าจะเป็นรูปคน สัตว์ อาวุธ และเครื่องใช้ จะมีลักษณะคล้ายคลึงกับภาพเขียน ในถํ้าของประเทศฝรั่งเศสตามแบบของพวกแมกดาเลเนียน

68.       จิตรกรรมตามผนังถํ้าของไทยเก่าสุดอยู่ในสมัยใด

(1) สมัยหินเก่า            (2)สมัยหินกลาง          (3)สมัยหินใหม่            (4)สมัยโลหะ

ตอบ 1 หน้า 71108 (S), (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 39) จิตรกรรมตามผนังถํ้าของไทยที่เก่าที่สุดอยู่ในสมัยหินเก่า ซึ่งมีการพบหลักฐานทั้งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และภาคกลางเช่น มีการพบการสลักเพิงผาที่เก่าที่สุดที่ถํ้ามิ้ม จ.อุดรธานี หรือมีการพบรูปมือคนที่ถาฝ่ามือ จ.ขอนแก่น เป็นต้น

69.       จิตรกรรมในถํ้าที่หุบเขานามาดาเหมือนภาพเขียนที่ใด

(1) เยอรมนี      (2)       ฝรั่งเศส            (3)       อังกฤษ            (4)       อิตาลี

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 61. ประกอบ

70.       ถํ้าฝ่ามืออยู่ในจังหวัดใด

(1) ขอนแก่น    (2)       เชียงราย          (3)       กาญจนบุรี       (4)       อุดรธานี

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 68. ประกอบ

71.       โมเหนโจดาโรและฮารัปปา อยู่ในประเทศใด

(1) สเปน         

(2)       อิตาลี   

(3)       อินเดีย 

(4)       อินโดนีเซีย

ตอบ 3 หน้า 59 อารยธรรมโมเหนโจดาโรและฮารัปปา เจริญขึ้นในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อระหว่างสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ของอินเดีย ทั้งนี้เพราะพบหลักฐานทาง โบราณคดีทั้งสองสมัย โดยหลักฐานที่เป็นโบราณวัตถุก่อนประวัติศาสตร์ที่สำคัญ คือ ตราประทับที่ทำด้วยหินสบู่ในรูปต่าง ๆ ซึ่งพบทั้งในแคว้นปัญจาบและสินธุ

72.       โบราณวัตถุที่สำคัญที่โมเหนโจดาโร

(1) เครื่องมือหิน           

(2) หม้อดินเผา

(3) ตราประทับทำจากหินสบู่   

(4) ซากพระราชวังโบราณ

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 71. ประกอบ

73.       ข้อความใดเกี่ยวข้องกับคัมภีร์พระเวท

(1) อารยัน       

(2) ศาสนาพุทธ           

(3) ดราวิเดียน 

(4) ศาสนาเชน

ตอบ 1 หน้า 90 เมื่อชาวอารยันได้เข้ามายึดครองดินแดนแถบลุ่มแม่นํ้าสินธุและคงคา ก็ได้นำเอา คัมภีร์พระเวทเข้ามาเผยแพร่ในอินเดียด้วย ซึ่งคัมภีร์พระเวทนี้มีอิทธิพลต่อคติความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี ตำนานเก่าแก และนิยายพื้นเมืองของชาวอารยันมาก

74.       ภาพเขียนของจีนเจริญสูงสุดในสมัยใด

(1) สมัยราชวงศ์ฮั่น      (2) สมัยราชวงศ์ถัง      (3) สมัยราชวงศ์ซ่ง      (4) สมัยราชวงศ์หมิง

ตอบ.2 หน้า 39220 ภาพเขียนของจีนเจริญสูงสุดในสมัยราชวงศ์ถัง ซึ่งถือเป็นยุคทองของศิลปะจีน ส่วนภาพเขียนในสมัยราชวงศ์ซ่งหรือซ้องนั้น ศิลปินจีนนิยมเขียนภาพภูมิประเทศ หรือภาพทิวทัศน์อันสวยงาม เช่น ภาพภูเขา ต้นไม้ ฯลฯ ผลุบโผล่อยู่ในสายหมอก

75.       ข้อใดคือภาพหุ่นนิ่ง

(1) ฉากลับแล (2) ตู้ลายรดน้ำ     (3) เส้นรูปเหมือน    (4) รูปลายเรขาคณิต

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 19. ประกอบ

76.       ศิลปะจีนในสมัยราชวงศ์ซ่งนิยมเขียนภาพประเภทใด

(1) ภาพสงคราม          (2) ภาพเหมือน            (3) ภาพนก ดอกไม้      (4) ภาพทิวทัศน์

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 74. ประกอบ

77.       ลักษณะของศิลปกรรมคิวบิสม์

(1) บริสุทธิ์ไร้เดียงสา   (2) นิยมสลักจากก้อนหิน

(3) รูปทรงบิดเบี้ยว      (4) เหมือนธรรมชาติ

ตอบ 3 หน้า 22138 – 39 (S)57 (S) ศิลปะนามธรรมหรือมโนศิลป์ (Abstract) คือ การถ่ายทอด ตามความรู้สึกด้วยใจ โดยการนำเอารูปทรงต่าง ๆ ที่พบเห็นในธรรมชาติมาจัดเสียใหม่ หรือปรุงแต่งดัดแปลงใหม่ ดังนั้นจึงอาจจะมีลักษณะกึ่งธรรมชาติ กึ่งนามธรรม และผิดเพี้ยน ไปจากธรรมชาติอยู่บ้าง เช่น ศิลปะแบบคิวบิสม์ จัดเป็นศิลปะแบบกึ่งจินตนาการที่มีลักษณะ เป็นเหลี่ยม เป็นมุม และรูปทรงบิดเบี้ยว แตก็ยังพอพิจารณาดูรูปลักษณะได้ว่าเป็นรูปอะไร

78.       ศิลปะเพื่อประโยชน์ใช้สอยเรียกอีกอย่างว่า

(1) ศิลปะประทับใจ    (2) ศิลปะบริสุทธิ์         (3) ศิลปะโรแมนติก     (4) ศิลปะประยุกต์

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 38. ประกอบ

79.       ผลงานสูงสุดของมนุษย์คือข้อใด

(1) ศิลปะถํ้า    (2) ศิลปะเพื่อชีวิต       (3) ศาสนศิลปะ           (4) ศิลปะบริสุทธิ์

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 11. ประกอบ

80.       ข้อใดเป็นวิจิตรศิลป์

(1) แจกันรูปแบบแปลกใหม่

(2) ตึกสูงห้าสิบชั้น

(3) ภาพพิมพ์รูปวัด

(4) ภาพเหมือนรูปดอกไม้

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 17. และ 37. ประกอบ

81.       ช่างโบราณไม่กล้าแสดงรูปพระพุทธรูปเพราะอะไร

(1) ยึดมั่นในศาสนามาก          

(2) ช่างไม่มีความชำนาญ

(3) เกรงกลัวต่อบาป    

(4) ปฏิบัติตามบรรพบุรุษ

ตอบ 1. หน้า 83 – 8443 (S) ศิลปะอินเดียสร้างขึ้นมาเนื่องจากศาสนา แต่เมื่อช่างโบราณยึดมั่น ในศาสนาและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ มากเกินไป ย่อมจะทำให้ไมสามารถสร้างสรรค์ภาพพจน์ของ พระพุทธรูปได้อย่างอิสระ เช่น ในยุคที่เริ่มสร้างรูปเพื่อรำลึกถึงพุทธธรรม ช่างจะไม่นิยมปั้น พระพุทธรูป แต่จะเว้นเหลือไว้แต่พระแท่นว่าง เพื่อแสดงให้เห็นว่าพระพุทธองศ์นั้นหมดแล้ว ซึ่งความเห็นแกตัว ไม่ได้ยึดในตนอีกต่อไปหรือคล้ายกับปราศจากตัวตน

82.       ความสมดุลคือข้อใด

(1) ต่างหูข้างหนึ่งเป็นรูปดาวและอีกข้างหนึ่งเป็นรูปเดือน      

(2) ที่คาดผมมีโบทางซ้าย

(3) กระถางดอกโป๊ยเซียนแตกกิ่งก้านสาขามากมาย 

(4) ดอกไม้ปักแจกันเป็นรูปดาว

ตอบ 1 หน้า 30 – 3176 (S) ความสมดุล หมายถึง ความเท่ากันหรือการถ่วงเพื่อให้เกิดการเท่ากัน แบ่งเป็น 2 บระเภท ได้แก่

1.         ความสมดุลที่เท่ากัน คือ ความเท่ากันทั้งซ้ายและขวา เช่น ร่างกายของคน สัตว์ ลฯ

2.         ความสมดุลไมเท่ากัน คือ ความสมดุลที่มิได้เท่ากันโดยแท้จริง แต่มีการจัดขนาด รูปร่าง สี รูปทรง ฯลฯ ให้แตกต่างกันทั้ง 2 ข้าง หรือมีลักษณะสมดุลด้วยตาโดยประมาณ เช่น ต่างหูข้างหนึ่งเป็นรูปดาวและอีกข้างหนึ่งเป็นรูปเดือน ฯลฯ

83.       ต้นไม้ที่อยูใกล้ตัวเรามากที่สุด ด้านที่โดนแดดเต็มที่จะเป็นสีใด

(1) เหลือง        

(2) ขาว            

(3) เทา 

(4) ดำ

ตอบ 2 หน้า 55 – 56 (S) การเขียนรูปที่มีแสงส่องด้านข้างนั้น ด้านที่โดนแดดเต็มที่จะสว่างจนเกิด เป็นน้ำหนักขาว ส่วนที่พอจะได้แสงนิดหน่อยจะกลายเป็นสีเทา และส่วนที่ตรงกันข้ามกับแสง หรือเงาจะเป็นน้ำหนักดำ

84.       ศิลปกรรมเพื่อประโยชน์ใช้สอยคือ

(1) ภาพเขียนสีดอกทานตะวัน            (2) ภาพพิมพ์ลายไทย

(3) สะพานส่งนํ้าศิลปะโรมัน   (4) รูปสลักหินอ่อนศิลปะกรีก

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 38. ประกอบ

85.       ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับรูปทรงเรขาคณิต

(1) ลายจำหลักหินรูปทรงกลม            (2) ตะกร้าย่านลิเภาลายสามเหลี่ยม

(3) ผ้าไหมลายน้ำไหลจากน่าน            (4) จิตรกรรมฝาผนังลายเทพชุมนุม

ตอบ 4 หน้า 60 (S) รูปทรง (Form) แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้

1.         อินทรียรูป คือ รูปทรงที่มีชีวิต มีกฎเกณฑ์แน่นอน และมีโครงสร้าง

2.         รูปทรงเรขาคณิต คือ รูปทรงที่เกิดจากการสร้างของมนุษย์ให้เกิดเป็นเส้นตรงเป็นรูปมีเหลี่ยมมุม รูปวงกลม รวมถึงการตกแต่งด้วยแบบลายเส้นในการจักสาน เช่น ตะกร้า ชะลอม กระบุง ลายในการถักทอ ฯลฯ

3.         รูปทรงอิสระ คือ รูปทรงที่ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว และไม่มีโครงสร้าง

86.       ค่าของความแตกต่างที่เกิดจากแสงและเงา คือ

(1) รูปทรง        (2) ความเข้ม   (3) จุด  (4) ทิศทาง

ตอบ 2 หน้า 56 (S) ความเข้ม (Value) หมายถึง ค่าของความแตกต่างที่เกิดจากแสงและเงาซึ่งคุณค่าของแสงและเงาจะช่วยให้งานศิลปะมีลักษณะเป็นแท่งหรือเป็นกลุ่มก้อน จนทำให้ เกิดเป็นภาพสามมิติขึ้น และก่อให้เกิดความงามในทางศิลปะ

87.       เส้นที่ให้ความรู้สึกไม่หยุดนึ่ง คือ

(1) เส้นโค้ง      (2) เส้นแย้ง     (3) เส้นตรง      (4) เส้นซิกแซ็ก

ตอบ 4 หน้า 2651 – 53 (S) การที่จะเข้าใจศิลปกรรมได้ดีจำเป็นต้องเรียนรู้ในเรื่องของเส้นและ ความหมายของเส้น เช่น เส้นตั้ง จะให้ความรู้สึกมั่นคง จริงจังเส้นซิกแซ็ก จะให้ความรู้สึก ไมหยุดนิ่ง ตื่นเต้น. เส้นเฉียง จะให้ความรู้สึกรวดเร็วเส้นนอน จะให้ความรู้สึกสงบ นึ่งเฉย ผ่อนคลายเส้นโค้งลงสู่พื้น จะให้ความรู้สึกเศร้า เหนื่อยหนาย อ่อนไหวเส้นที่กระจายออกเป็นรัศมี จะให้ความรู้สึกกระจายออก การระเบิด ความมีกำลังเพิ่มขึ้น ฯลฯ

88.       ศิลปินสร้างสรรค์งานศิลปะจาก

(1) ธรรมชาติ   (2) คิดขึ้นเอง   (3) เลียนแบบจากงานอื่น        (4) เสียงเพลง

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 41. ประกอบ

89.       งานศิลปกรรมใดให้ความรู้สึกลึกซึ้ง

(1) กำไลแขนลายมังกร           (2) พานขันหมากสำรับใหญ่

(3) ต่างหูทองคำลายดาว         (4) พระพุทธรูปศิลาทราย

ตอบ 4 หน้า 23 – 30 (S), (ดูคำอธิบายข้อ 11 ประกอบ) คุณสมบัติที่แท้จริงของผลงานศิลปะ ที่มองเห็นมีอยู่ 5 ประการ คือ     1. คุณสมบัติที่เด่นชัดในตัวของมันเอง

2. คุณสมบัติในการดำรงอยู่    3. คุณสมบัติที่ให้ความรู้สึกเพิ่มขึ้น ยิ่งดูยิ่งลึกซึ้ง

เช่น พระพุทธรูปสุโขทัย เป็นต้น           4. คุณสมบัติที่ส่งเสริมให้คิดถึงสิ่งอื่น

5.         คุณสมบัติที่พร้อมทุกด้าน มีความสมบูรณ์ในตัวเอง

90.       รูปทรงสี่เหลี่ยมให้ความรู้สึกอย่างไร

(1) หนักแน่น    (2)       อ่อนไหว           (3)       ไม่หยุดนิ่ง        (4)       แข็งกระด้าง

ตอบ 1 หน้า 62 – 63 (S) รูปทรง สามารถสื่อความหมายและความรู้สึกได้เช่นเดียวกับวิธีการของเส้น เช่น รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส จะให้ความรู้สึกหนักแน่น เข้มแข็ง มั่นคงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า จะให้ ความรู้สึกตรงไปตรงมา เป็นกลาง เคร่งขรึม เอาจริงเอาจังรูปสี่เหลี่ยมคางหมู จะให้ความรู้สึก แปลกใหม่ สนุกสนานรูปวงกลม จะให้ความรู้สึกปลอดภัย มีพลังสูง ฯลฯ

91.       ลักษณะพิเศษของภาพจิตรกรรมไทย คือ

(1) สองมิติ       

(2)       สามมิติ            

(3)       ลายเส้น           

(4)       สีนํ้า

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 24. ประกอบ

92.       เด็กที่อยู่ท่ามกลางศิลปกรรมที่งดงามจะมีบุคลิกอย่างไร

(1) อ่อนไหว     

(2)       อดทน  

(3)       สุขุม     

(4)       ขาดความมั่นใจ

ตอบ 3 หน้า 21 (S) ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ได้ให้ข้อคิดว่า เด็กที่คุ้นเคยกับงานศิลปะหรือ ได้พบเห็นสิ่งประณีตสวยงามนั้น ต่อไปในอนาคตก็จะกลายเป็นของจำเป็นต่อชีวิตของเด็ก เพราะจะช่วยให้มีความคิดอ่านประณีตสุขุม นอกจากนี้ศิลปะก็ยังช่วยให้เยาวชนของชาติ กลายเป็นคนดีขึ้น และประพฤติปฏิบัติไปตามกฎแห่งศีลธรรม

93.       ข้อใดเกี่ยวข้องกับวิจิตรศิลป์

(1) ชุดโต๊ะเก้าอี้ฝังมุก 

(2) เข็มกลัดเพชร          

(3) รูปหญิงสาวส่องกระจก 

(4) ผ้าไหมแพรวา

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 37. ประกอบ

94.       ลักษณะพิเศษของศิลปะนามธรรม

(1) ทำเป็นรูปที่ผู้อื่นไม่เข้าใจ    (2) สร้างความคิดขึ้นมาใหม่

(3) ปรุงแต่งดัดแปลงใหม่        (4) เปลี่ยนแปลงจากเดิมที่เคยเห็น

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 77. ประกอบ

95.       เส้นโค้ง หมายถึง

(1) ความไมแน่นอน     (2) ความอ่อนไหว        (3) ความแน่วแน่          (4) ความไมหยุดนิ่ง

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 87. ประกอบ

96.       เส้นนอนมีความหมาย

(1) สงบ           (2) รวดเร็ว       (3) ต้นพลัง      (4) เหนื่อยหน่าย

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 87. ประกอบ

97.       เส้นที่กระจายออกเป็นรัศมี หมายถึง

(1) ความหวัง   (2) ความทะเยอทะยาน           (3) ความมีกำลังเพิ่มขึ้น           (4) ความมีสง่า

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 87. ประกอบ

98.       ข้อใดคือศิลปะประยุกต์

(1) ต่างหูรูปดาวและเดือน       (2) ภาพพิมพ์ลายพฤกษา

(3) พระพิมพ์สมัยลพบุรี          (4) ลายปูนปั้นสมัยอยุธยา

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 38. ประกอบ

99.       เส้นที่มีลักษณะต่างกันและมีทิศทางต่างกัน

(1) ย่อมมีความกลมกลืนกัน    (2) เกิดความไม่กลมกลืนกัน

(3) ไร้ชีวิตจิตใจ            (4) มีความรู้สึกขัดแย้ง

ตอบ 2 หน้า 53 (S) หลักสำคัญในการออกแบบเส้นเพื่อให้รู้สึกว่ามีความกลมกลืนหรือตัดกัน มีดังนี้ 1. เส้นที่มีลักษณะคล้ายกันและมีทิศทางใกล้กัน ย่อมกลมกลืนกัน 2. เส้นที่มีลักษณะต่างกันและมีทิศทางต่างกัน ย่อมไม่กลมกลืนกัน

100.    ศิลปกรรมเพื่อประโยชน์ใช้สอยเกี่ยวข้องกับ

(1) ความดีงาม            (2) ความรื่นรมย์ทางใจ

(3) ความเชื่อถือศรัทธา            (4) ประโยชน์แกชีวิตประจำวัน

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 38. ประกอบ

ART1003 ศิลปะวิจักษณ์ การสอบไล่ภาค 1 ปีการศึกษา 2555

การสอบไล่ภาค 1 ปีการศึกษา 2555

ข้อสอบกระบวนวิชา ART 1003 ศิลปะวิจักษณ์

คำสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว (ข้อสอบมีทั้งหมด 100 ข้อ)

1.         สุนทรียะในวิสัยของธรรมชาติเกี่ยวข้องกับ

(1)       ความงาม ความมีระเบียบทางธรรมชาติ         

(2) ความกลมกลืนของรูปลักษณะของธรรมชาติ

(3) ความลงตัว ความเหมาะสมของธรรมชาติ 

(4) ความสวยงามทางสีสันของธรรมชาติ

ตอบ 1 หน้า 12 สุนทรียะในวิสัยของธรรมชาติ หมายถึง สุนทรียะแห่งความมีระเบียบและความงาม โดยธรรมชาติมักจะมีกฎแห่งสุนทรียะซึ่งก่อให้เกิดความมีระเบียบ ความเหมาะสมกลมกลืน และความงามอยู่ทั้งสิ้น ดังนั้นในธรรมชาติจึงมีความงาม ความสะเทือนใจ และให้ความนึกคิด แก่ผู้พบเห็นเสมอ

2.         มนุษย์ สัตว์ จัดเป็นรูปลักษณะของคิลปะแบบใด

(1)       อิสระ   

(2) ที่กำหนดแล้ว         

(3) เรขาคณิต  

(4) ธรรมชาติ

ตอบ 4 หน้า 11 รูปลักษณะของงานศิลปะแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ

1.         แบบธรรมชาติ เป็นรูปลักษณะที่ตายตัวไม่เปลี่ยนแปลง เช่น ภูเขา ต้นไม้ ใบไม้ดอกไม้ มนุษย์ สัตว์ ฯลฯ

2.         แบบเรขาคณิต เป็นรูปลักษณะที่ได้แบบอย่างจากธรรมชาติมาบ้าง เช่น เส้นตรง เส้นโค้ง ฯลฯ

3.         แบบอิสระ เป็นรูปลักษณะที่ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว และเปลี่ยนแปลงไปตามความนิยมหรือ ความเห็นชอบของผู้ประดิษฐ์

3.         ศิลปะในข้อใดเป็นผลงานสูงสุดของมนุษย์

(1)       ศาสนศิลปะ     

(2) ศิลปะพื้นบ้าน        

(3) ศิลปะถํ้า    

(4) ศิลปะบนหน้าผา

ตอบ 1 หน้า 2004 (S)12 (S) ศาสนศิลปะ (Religious Art) หรืองานศิลปกรรมในลัทธิความเชื่อถือ และศาสนา ถือเป็นผลงานสร้างสรรค์ที่สูงสุดและเหนือกว่างานสร้างสรรค์ด้านอื่น ๆ เพราะเป็น งานศิลปะที่เกิดจากความซาบซึ้งทางพุทธิปัญญาที่มีคุณค่าเหนือกว่าศิลปะทั้งหลายที่มนุษย์ ได้สร้างขึ้น เช่น ประติมากรรมพระพุทธรูปในศิลปะสุโขทัย ภาพเขียนพุทธประวัติ โบสถ์ วิหาร หรือศาสนสถานที่สร้างขึ้นเพื่อการบูชาต่าง ๆ เป็นต้น

4.         ยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์แตกต่างจากสมัยประวัติศาสตร์ เพราะ

(1)       ยุคก่อนประวัติศาสตร์ไม่มีตัวอักษร ยุคประวัติศาสตร์มีตัวอักษร

(2)       ยุคก่อนประวัติศาสตร์ไม่มีเครื่องปั้นดินเผา ยุคประวัติศาสตร์มีเครื่องปั้นดินเผา

(3)       ยุคก่อนประวัติศาสตร์ไม่มีกระดาษ ยุคประวัติศาสตร์มีกระดาษ

(4)       ยุคก่อนประวัติศาสตร์ไม่มีเครื่องดนตรี ยุคปรวัติศาสตร์มีเครื่องดนตรี

ตอบ 1 หน้า47114(S) การแบ่งยุคสมัยของมนุษย์จะใช้ตัวอักษรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง กล่าวคือ ยุคก่อนประวัติศาสตร์นั้นยังไม่มีตัวอักษรสำหรับการจดบันทึก การศึกษาศิลปะจะศึกษาจาก ศิลปวัตถุและซากโครงกระดูกต่าง ๆ ส่วนยุคประวัติศาสตร์จะมีการใช้ตัวอักษรเพื่อสื่อความหมาย และทำความเข้าใจระหว่างกัน การศึกษาศิลปะจะศึกษาจากลายลักษณ์อักษรที่ได้จดบันทึกขึ้น

5.         สุนทรียรสในวิชาศิลปะวิจักษณ์ ให้ความรู้สึกซาบซึ้งในเรื่องใด

(1) ความรัก     (2) ความงาม   (3) ความสวย  (4) ความบันเทิง

ตอบ 2 หน้า 3 (S)12 – 13 (S) สุนทรียรสหรือรสของศิลปะจะก่อให้เกิดความรู้สึกซาบซึ้งในสุนทรียภาพ หรือความงามของศิลปะ ซึ่งนับเป็นความเข้าใจที่สำคัญยิ่งของมนุษย์ต่อสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว โดยมีสิ่งสำคัญ 2 ประการ คือ 1. ความซาบซึ้งทางอารมณ์ 2. ความซาบซึ้งทางพุทธิปัญญา

6.         คุณค่าทางสุนทรียภาพทางศิลปะ คือ

(1)       เป็นการแสดงออกถึงภาพที่ให้ความรู้สึกสะเทือนใจมากที่สุด

(2)       เป็นภาพที่มีการจัดวางเส้น รูปร่าง มวล พื้นผิว และช่องว่างได้อย่างเหมาะสม

(3)       เป็นการแสดงออกถึงลีลา ฝีแปรงที่แข็งกร้าวเด็ดเดี่ยว

(4)       เป็นการแสดงออกถึงสิ่งแปลกใหม่ในงานศิลปะ

ตอบ 2 หน้า 32030 คุณค่าทางสุนทรียภาพของศิลปะหรือคุณค่าทางสุนทรียศาสตรี (Aesthetics) คือ การจัดวางโครงสร้างของศิลปะให้มีองค์ประกอบของเส้น คุณค่า รูปร่าง มวล พื้นผิว และช่องว่างให้มีความสมดุล มีสัดส่วน มีช่วงจังหวะ มีความกลมกลืน มีความขัดแย้ง และมีจุดเด่น ในงานศิลปะได้อย่างเหมาะสม

7.         การศึกษาศิลปะอาจกล่าวได้อีกนัยหนึ่งว่า

(1) คือการศึกษาชีวประวัติและผลงานของศิลปิน       (2) คือการศึกษาโครงสร้างของงานศิลปะ

(3) คือการกำหนดรูปแบบของภาพเขียนจากผลงาน  (4) คือการศึกษาเรื่องราวของมนุษย์

ตอบ 4 หน้า 4 ศิลปกรรมย่อมคู่กับวัฒนธรรมเสมอ เพราะเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นและแสดงออกถึง ความเจริญของสังคม วิถีชีวิตความเป็นอยู่ และความคิดอ่านของศิลปิน จึงได้ถ่ายทอดออกมา เป็นงานศิลปะ ดังนั้นการศึกษาศิลปะจึงอาจกล่าวได้ว่า คือการศึกษาเรื่องราวของมนุษย์

8.         ศิลปะบริสุทธิ

(1) ให้ความพอใจ        (2) ให้ความเพลิดเพลิน           (3)ให้อารมณ์สะเทือนใจ          (4) เป็นศิลปะชั้นสูง

ตอบ 3 หน้า 4 (S)87 (S) ศิลปะบริสุทธิ์หรือประณีตศิลป์ (Fine Art) เป็นงานศิลปะที่คำนึงถึงประโยชน์ ทางจิตใจ คือ ช่วยให้มีความสุขสบายใจ ทำให้เกิดความประทับใจที่ดื่มด่ำ มีความศักดิ์สิทธิ์ในทางจิต เกิดอารมณ์สะเทือนใจไม่เสื่อมคลายและไม่สูญหายไปจากความทรงจำ ดังนั้นจึง จัดเป็นงานศิลปะอมตะหรือเรียกว่า วิจิตรศิลป์” ซึ่งเป็นศิลปะชั้นสูง ได้แก่ งานจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์

9.         การถ่ายทอดงานศิลปะขึ้นอยู่กับ

(1) ความชำนาญในการเลือกเนื้อหา   (2) ทักษะและประสาท

(3) รูปแบบที่กำหนดไว้แล้ว     (4) ส่วนประกอบและเครื่องมือเกี่ยวกันงานศิลปะ

ตอบ 2 หน้า 11 ความรู้สึกในการถ่ายทอดงานศิลปะจะขึ้นอยู่กับทักษะและประสาทสัมผัสของศิลปิน ซึ่งการถ่ายทอดและตัดทอนอาจจะทำได้ 3 ประการ คือ          1. การถ่ายทอดตามความเป็นจริง2. การถ่ายทอดโดยการตัดทอน 3. การถ่ายทอดตามความรู้สึก

10.       ความรู้ที่เรียกว่า แม่แห่งศิลปะ” คือสิ่งใด

(1) ความจริงในประวัติศาสตร์ (2) การเขียนสีน้ำ

(3) สิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัวเรา    (4) ภาพปูนปั้นของสมัยคลาสสิก

ตอบ 3 หน้า 9-10 บ่อเกิดหรือแม่แห่งศิลปะมิได้มาจากธรรมชาติเท่านั้น เพราะสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวเราย่อมมีผลเป็นอย่างมากต่อการสร้างสรรค์งานศิลปะ ดังนั้นปัจจัยที่ทำให้เกิดงานศิลปะ จึงประกอบไปด้วยธรรมชาติ ศาสนา ความเชื่อถือ ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ระบบการปกครอง สังคม และวัสดุที่นำมาใช้

11.       ภูเขา ต้นไม้ ใบไม้ จัดเป็นรูปลักษณะทางศิลปะแบบใด

(1) เรขาคณิต  

(2) ธรรมชาติ   

(3) อิสระ          

(4) ที่กำหนดแล้ว

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 2. ประกอบ

12.       ศิลปะกินระวางเนื้อที่ หมายถึง

(1) ศิลปะบริสุทธิ์         

(2) ศิลปะประยุกต์      

(3) ทัศนศิลป์   

(4) ภาพเขียน

ตอบ 3 หน้า 840 ศิลปะกินระวางเนื้อที่ (Space Art) บางครั้งก็เรียกว่า ทัศนศิลป์” (Visual Art or Plastic Art) หมายถึง ศิลปะที่จำกัดระวางเนื้อที่ส่วนใดส่วนหนึ่งในอากาศด้วยปริมาตร ของศิลปะเหล่านั้น ซึ่งได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม เป็นต้น

13.       ข้อใดคิอศิลปะประยุกต์

(1) ต่างหูรูปดาวและเดือน       

(2) ภาพพิมพ์ลายพฤกษา

(3) พระพิมพ์สมัยลพบุรี          

(4) ลายปูนปั้นสมัยอยุธยา

ตอบ 1 หน้า 8 – 93 – 4 (S)127 (S) ศิลปะประยุกต์ (Applied Art) คือ ศิลปะที่ตั้งใจสร้างหรือ ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อประโยชน์ใช้สอย หรือเพื่อประโยชน์แก่ชีวิตประจำวันอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เครื่องประดับ (ต่างหู กำไลแขน เข็มกลัด) เครื่องจักร ผ้า เครื่องหนัง เครื่องเคลือบ รวมทั้งสะพานส่งนํ้า หรือเขื่อนกั้นน้ำของศิลปะโรมัน ฯลฯ ซึ่งอาจจะแบ่งย่อยออกไปเรียกว่า พาณิชย์ศิลปะหรืออุตสาหกรรมศิลป์” แต่ถ้าหากประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อประดับตกแต่งในอาคาร สถานที่ก็จะเรียกว่า มัณฑนศิลป” เช่น การออกแบบเครื่องเรือน โต๊ะ เก้าอี้ ฯลฯ

14.       ศิลปะสมัยใหม่

(1) มักเป็นศิลปะนามธรรม      (2) มักประดิษฐ์จากวัสดุแปลกใหม่

(3) มักไม่ให้ประโยชน์ต่อสิ่งใดเลย      (4) มักให้ประโยชน์ต่อการขัดเกลาจิตใจ

ตอบ 4 หน้า 42 ศิลปะสมัยใหม่ มักจะถูกสร้างขึ้นมาโดยไม่มีจุดมุ่งหมายในประโยชน์ใช้สอยแต่อย่างใด ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นมาลอย ๆ ตามความนึกคิดและความพอใจอันเนื่องมาจากความงามหรือ สิ่งประทับใจอื่น ๆ ของศิลปิน ดังนั้นจึงมีจุดมุ่งหมายที่จะขัดเกลาจิตใจของเราให้ผ่องใส หรืออาจกล่าวอีกอย่างหนึ่งได้ว่าเป็นประโยชน์ทางใจนั่นเอง

15.       ลักษณะพิเศษของศิลปะนามธรรม

(1) ทำเป็นรูปที่ผู้อื่นไม่เข้าใจ    (2) สร้างความคิดขึ้นมาใหม่

(3) ปรุงแต่งดัดแปลงใหม่        (4) เปลี่ยนแปลงจากเดิมที่เคยเห็น

ตอบ 3 หน้า 22138 – 39 (S)57 (S) ศิลปะนามธรรมหรือมโนศิลป์ (Abstract) คือ การถ่ายทอด ตามความรู้สึกด้วยใจ โดยการนำเอารูปทรงต่าง ๆ ที่พบเห็นในธรรมชาติมาจัดเสียใหม่ หรือปรุงแต่งดัดแปลงใหม่ ดังนั้นจึงอาจจะมีลักษณะกึ่งธรรมชาติ กึ่งนามธรรม และผิดเพี้ยน ไปจากธรรมชาติอยู่บ้าง เช่น ศิลปะแบบคิวบิสม์ จัดเป็นศิลปะแบบกึ่งจินตนาการที่มีลักษณะ เป็นเหลี่ยม เป็นมุม และรูปทรงบิดเบี้ยว แต่ก็ยังพอพิจารณาดูรูปลักษณะได้ว่าเป็นรูปอะไร

16.       เด็กที่อยู่ท่ามกลางศิลปกรรมที่งดงามจะมีบุคลิกอย่างไร

(1) อ่อนไหว     (2) อดทน         (3) สุขุม           (4) ขาดความมั่นใจ

ตอบ 3 หน้า 21 (S) ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ได้ให้ข้อคิดว่า เด็กที่คุ้นเคยกับงานศิลปะหรือ ได้พบเห็นสิ่งประณีตสวยงามนั้น ต่อไปในอนาคตก็จะกลายเป็นของจำเป็นต่อชีวิตของเด็ก เพราะจะช่วยให้มีความคิดอ่านประณีตสุขุม นอกจากนี้ศิลปะก็ยังช่วยให้เยาวชนของชาติ กลายเป็นคนดีขึ้น และประพฤติปฏิบัติไปตามกฎแห่งศีลธรรม

17.       ข้อใดไม่ใช่วิจิตรศิลป์

(1) จิตรกรรม   (2) ประติมากรรม        (3) ภาพถ่าย    (4) สถาปัตยกรรม

ตอบ 3 หน้า 822122 (S) วิจิตรศิลป์ (Fine Art) หมายถึง จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม วรรณศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และภาพพิมพ์ ซึ่งเกิดขึ้นจากแรงบันดาลใจของธรรมชาติจนส่งเสริม ให้ศิลปินเกิดความคิดสร้างสรรค์ในงานศิลปะ หรือเป็นศิลปกรรมที่ทำขึ้นจากความสัมพันธ์กัน อย่างประณีตของเส้นและมวลสิ่งหรือสีที่มีความผสมกลมกลืนกันอย่างงดงาม

18.       ข้อใดเกี่ยวข้องกับวิจิตรศิลป์

(1) ชุดโต๊ะเก้าอี้ฝังมุก  (2) เข็มกลัดเพชร

(3) รูปหญิงสาวส่องกระจก     (4) ผ้าไหมแพรวา

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 813. และ 17. ประกอบ

19.       งานศิลปกรรมใดให้ความรู้สึกลึกซึ้ง

(1) กำไลแขนลายมังกร           (2) พานขันหมากสำรับใหญ่

(3) ต่างหูทองคำลายดาว         (4) พระพุทธรูปศิลาทราย

ตอบ 4 หน้า 23 – 30 (S), (ดูคำอธิบายข้อ 3. ประกอบ) คุณสมบัติที่แท้จริงของผลงานศิลปะ ที่มองเห็นมีอยู่ 5 ประการ คือ       1. คุณสมบัติที่เด่นชัดในตัวของมันเอง

2. คุณสมบัติในการดำรงอยู่    3. คุณสมบัติที่ให้ความรู้สึกเพิ่มขึ้น ยิ่งดูยิ่งลึกซึ้ง

เช่น พระพุทธรูปสุโขทัย เป็นต้น           4. คุณสมบัติที่ส่งเสริมให้คิดถึงสิ่งอื่น

5. คุณสมบัติที่พร้อมทุกด้าน มีความสมบูรณ์ในตัวเอง

20.       ศิลปกรรมนานาชาติแสดงออกถึงความงามในรูปแบบใด

(1) ความเหมือนกัน    

(2) ต่างกันในเรื่องน้ำหนัก

(3) มีรสนิยมต่างกัน    

(4) ต่างกันในเรื่องของสี

ตอบ 3 หน้า 5 (S) รสนิยมที่ดีในงานศิลปะ หมายถึง การรู้จักความสัมพันธ์ของโครงสร้างและส่วนประกอบขั้นมูลฐานที่สำคัญของงานศิลปะ โดยต้องพิจารณาถึงรูปลักษณะที่สวยงามและ ประโยชน์ใช้สอยควบคู่กันไปด้วย ซึ่งรสนิยมที่มีขึ้นของแต่ละชาติจะแตกต่างกัน อันมีผลมาจาก ความแตกต่างของขนบธรรมเนียม เชื้อชาติ วัฒนธรรม และประสบการณ์ของแต่ละบุคคล

21.       จุดมุ่งหมายที่สำคัญอีกประการหนึ่งในการเรียนวิชาศิลปะวิจักษณ์ คือ

(1)       เป็นผู้เชี่ยวชาญในการอนุรักษ์ศิลปกรรมของชาติ

(2)       เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งสวยงามเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

(3)       เข้าใจความเป็นมาของศิลปกรรมชิ้นสำคัญของประเทศจนสามารถอธิบายได้

(4)       มีความชำนาญในการจัดรูปแบบทางด้านศิลปะ

ตอบ 2 หน้า 3 จุดมุ่งหมายในการเรียนวิชาศิลปะวิจักษณ์ คือ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและ พิจารณางานศิลปะอย่างมีเหตุผล ตลอดจนเข้าใจประวัติความเป็นมาจนสามารถวิเคราะห์ และสังเคราะห์งานศิลปะได้ กล่าวคือ เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งสวยงามเพื่อนำไปใช้ ในชีวิตประจำวัน เกิดทัศนคติที่ดี รู้จักคุณค่าของศิลปกรรม และยังเป็นการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจอย่างมีหลักการ จนสามารถรู้วิธีการเบื้องต้นในการอนุรักษ์ศิลปกรรมของชาติได้

22.       ข้อใดหมายถึงงานนิเทศศิลป์

(1) ภาพเหมือนคุณมาลินี พีระศรี        

(2) ภาพหญิงสาวของตูลูส โลเทรค

(3) ภาพประกอบในนิตยสาร   

(4) ภาพพิมพ์ของฮิโรชิเอะ

ตอบ 3 หน้า 102 – 103 (S) งานนิเทศศิลป์ได้เข้าไปเกี่ยวข้องกับวงการธุรกิจและการโฆษณา เช่น การออกแบบเครื่องหมายสัญลักษณ์ การออกแบบลายผ้า ลายกระเบื้องเคลือบ การออกแบบ หนังสือ ภาพประกอบในนิตยสาร ตลอดจนการออกแบบผลิตภัณฑ์จำพวกเครื่องปั้นดินเผา ฯลฯ

23.       ประติมากรรมนูนต่ำคือข้อใด

(1) ภาพปูนปั้นที่เจดีย์จุลประโทน       

(2) ลายจำหลักบนใบเสมา

(3) เหรียญห้าบาทไทย            

(4) พระพุทธรูปบนฐานเตี้ย

ตอบ 3 หน้า 41 – 42 ประติมากรรม คือ ศิลปะกรรมซึ่งเป็นรูปทรงสามมิติ มีการกินที่ในอากาศแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่

1. ประติมากรรมนูนตํ่า คือ รูปที่ปั้นหรือแกะสลักให้ยื่นออกมา จากแผ่นหลัง โดยมีพื้นแบนราบเสมอกันทั่วทั้งองค์ประกอบ เช่น เหรียญเงินตราต่าง ๆ ฯลฯ

2.         ประติมากรรมนูนสูง คือ รูปปั้นหรือแกะสลักที่นูนออกมาจนเกือบหลุดออกจากแผ่นหลัง

3.         ประติมากรรมลอยตัว คือ รูปปั้นที่ไม่มีแผ่นหลัง สามารถดูได้รอบด้านและทุกระดับแนวดู

24.       ศิลปกรรมเพื่อประโยชน์ใช้สอยคือ

(1) ภาพเขียนสีดอกทานตะวัน            (2) ภาพพิมพ์ลายไทย

(3) สะพานส่งนํ้าศิลปะโรมัน   (4) รูปสลักหินอ่อนศิลปะกรีก

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 13. ประกอบ

25.       ภาพสามมิติ หมายถึง

(1) ภาพเขียนที่มีความลึก       (2) สถาปัตยกรรม (3) ประติมากรรม  (4) ภาพเขียนสีน้ำมัน

ตอบ 1 หน้า 41221 – 222 ภาพสามมิติได้แบบอย่างการเขียนมาจากศิลปะตะวันตก ดังนั้นจึงมี ลักษณะเป็นภาพเขียนที่มีความลึก อันประกอบไปด้วยสี เส้น แสง และเงา ผิดกับภาพเขียนของ ศิลปะตะวันออกที่มักจะประกอบไปด้วยสีและเส้นเท่านั้น ทำให้ภาพเขียนมีลักษณะเป็นรูปแบน ๆ หรือเป็นภาพสองมิติที่ไม่มีความลึก ซึ่งเป็นลักษณะพิเศษของภาพจิตรกรรม (ฝาผนัง) ของไทย

26.       ภาพหุ่นนิ่งรูปดอกไม้เกี่ยวข้องกับข้อใด

(1) สีน้ำมัน      (2) ลายเส้น     (3) จิตรกรรม   (4) ประติมากรรม

ตอบ 2 หน้า 36 (S) ภาพเหมือนจริงหรือหุ่นนิ่ง (Still Life) เป็นการแสดงออกตามความเป็นจริง ซึ่งถอดแบบมาจากธรรมชาติอย่างชัดเจน โดยศิลปินจะแสดงความรู้สึกต่าง ๆ ตามที่เข้าใจ และต้องการแสดงออก ได้แก่ การแสดงออกถึงเรื่องราวชีวิตจริง การทำงาน ความยากจน เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน เช่น ภาพหุ่นนิ่งของนักดนตรี ภาพลายเส้นรูปเหมือน ของดอกไม้ต่างๆ เป็นต้น

27.       สิ่งบันดาลใจให้ศิลปินสร้างสรรค์งานศิลปะ

(1) ความสันโดษ          (2) ความเชื่อในเรื่องวิญญาณ

(3) ความสะเทือนอารมณ์        (4) ความกตัญญูต่อธรรมาติ

ตอบ 3 หน้า 10 ถึงแม้ว่าธรรมชาติจะเป็นแรงบันดาลใจอันเร้นลับที่ผลักดันให้มนุษย์สร้างสรรค์งานศิลปะ ออกมาในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง สุดแล้วแต่ประสบการณ์และอารมณ์สะเทือนใจของศิลปินผู้นั้น แต่หากปราศจากอำนาจแห่งความรู้สึกสะเทือนอารมณ์ อันก่อให้เกิดมโนภาพหรือจินตนาการ ขึ้นในจิตใจด้วยแล้ว งานศิลปะก็มิอาจสร้างสรรค์ขึ้นมาได้

28.       ความสมดุลคือข้อใด

(1) ต่างหูข้างหนึ่งเป็นรูปดาวและอีกข้างหนึ่งเป็นรูปเดือน      (2) ที่คาดผมมีโบทางซ้าย

(3) กระถางดอกโป๊ยเซียนแตกกิ่งก้านสาขามากมาย (4) ดอกไม้ปักแจกันเป็นรูปดาว

ตอบ 1 หน้า 30 – 3176 (S) ความสมดุล หมายถึง ความเท่ากันหรือการถ่วงเพื่อให้เกิดการเท่ากัน แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. ความสมดุลที่เท่ากัน คือ ความเท่ากันทั้งซ้ายและขวา เช่น ร่างกายของคน สัตว์ ฯลฯ           2. ความสมดุลไม่เท่ากัน คือ ความสมดุลที่มิได้เท่ากันโดยแท้จริงแต่มีการจัดขนาด รูปร่าง สี รูปทรง ฯลฯ ให้แตกต่างกันทั้ง 2 ข้าง หรือมีลักษณะสมดุลด้วยตา โดยประมาณ เช่น ต่างหูข้างหนึ่งเป็นรูปดาวและอีกข้างหนึ่งเป็นรูปเดือน ฯลฯ

29.       พื้นผิวของไม้มะเกลือให้ความรู้สึก

(1) บางเบา      (2) ลื่นมัน        (3) อ่อนหวาน  (4) เย็นสบายตา

ตอบ 4 หน้า 64 – 65 (S) พื้นผิวของดิน เปลือกไม้ อิฐ พืช เปลือกไข่ ขนสัตว์ ใยไหม ปีกของแมลง หรือไม้มะเกลือขัดมัน ฯลฯ ซึ่งมีลักษณะโดยธรรมชาติเป็นวัสดุที่แข็งและสะท้อนแสงได้อย่างดี จะให้ความรู้สึกเย็น แต่ถ้ามีลายไม้มากหรือมีสีน้ำตาลเข้มจนเกือบดำจะให้ความรู้สึกอบอุ่นแทน

30.       สีที่มีความอ่อนหวาน คือสีใด

(1) สีแดง         (2) สีชมพู        (3) สีเหลือง     (4) สีเขียว

ตอบ 2 หน้า 71 (S) ในเรื่องจิตวิทยาของสีนั้นถือว่า สีมีอิทธิพลเหนือจิตใจของมนุษย์โดยทั่วไป ดังนั้นสีจึงสามารถบ่งบอกถึงอารมณ์และความรู้สึกได้เป็นอย่างดี เช่น สีเหลือง หมายถึง ความไพบูลย์สีแดง หมายถึง ความตื่นเต้นเร้าใจสีชมพูหรือสีดอกกุหลาบ หมายถึง ความอ่อนหวานนุ่มนวลสีเขียวและสีนํ้าเงิน หมายถึง ความสงบเงียบ ฯลฯ

31.       สีกลาง คือสีใด

(1) ขาว            

(2) นํ้าเงิน        

(3) นํ้าตาล       

(4) เทา

ตอบ 4 หน้า 3467 (S) สีทั้งหลายที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันนั้นเกิดจากการผสมกันของแม่สีที่เรียกว่า แม่สีวัตถุธาตุ ได้แก่ 1. สีน้ำเงิน (Prussian Blue) 2. สีแดง (Crimson)3. สีเหลือง (Gamboge Tint) ซึ่งสีทั้งสามนี้เมื่อนำมาผสมกันในอัตราส่วนที่เท่า ๆ กัน ก็จะได้สีกลาง (Neutral Tint) คือ สีเทา แต่ถ้าผสมเข้มจัดจะได้สีดำ

32.       สีตรงกันข้าม คือข้อใด

(1) เทาเข้ม ฟ้าใส         

(2) แดง ชมพูอ่อน        

(3) เหลือง นํ้าตาล       

(4) ส้ม นํ้าเงิน

ตอบ 4 หน้า 3669 (S) สีตรงกันข้ามหรือสีคู่จะเป็นสีที่ตัดกันอย่างแท้จริง ซึ่งสีบางสีจะเอามาผสมกัน ไม่ได้เพราะสีจะเน่าและไม่สวย โดยสีชนิดนี้มีมากคู่ด้วยกัน เช่น สีเขียวกับสีแดงเลือดนก,สีเหลืองกับสีม่วงสีนํ้าเงินกับสีส้มสีแดงกับสีเขียวนํ้าเงิน ฯลฯ

33.       ต้นไม้ที่อยู่ใกล้ตัวเรามากที่สุด ด้านที่โดนแดดเต็มที่จะเป็นสีใด

(1) เหลือง        

(2) ขาว            

(3) เทา 

(4) ดำ

ตอบ 2 หน้า 55 – 56 (S) การเขียนรูปที่มีแสงส่องด้านข้างนั้น ด้านที่โดนแดดเต็มที่จะสว่างจนเกิด เป็นน้ำหนักขาว ส่วนที่พอจะได้แสงนิดหน่อยจะกลายเป็นสีเทา และส่วนที่ตรงกันข้ามกับแสง หรือเงาจะเป็นน้ำหนักดำ

34.       ค่าของความแตกต่างที่เกิดจากแสงและเงา คือ

(1)รูปทรง         (2)ความเข้ม    (3)จุด   (4)ทิศทาง

ตอบ 2 หน้า 56 (S) ความเข้ม (Value) หมายถึง ค่าของความแตกต่างที่เกิดจากแสงและเงาซึ่งคุณค่าของแสงและเงาจะช่วยให้งานศิลปะมีลักษณะเป็นแท่งหรือเป็นกลุ่มก้อน จนทำให้ เกิดเป็นภาพสามมิติขึ้น และก่อให้เกิดความงามในทางศิลปะ

35.       เส้นที่ให้ความรู้สึกไม่หยุดนิ่ง คือ

(1) เส้นโค้ง      (2) เส้นแย้ง     (3) เส้นตรง      (4) เส้นซิกแซ็ก

ตอบ 4 หน้า 2651 – 53 (S) การที่จะเข้าใจศิลปกรรมได้ดีจำเป็นต้องเรียนรู้ในเรื่องของเส้นและ ความหมายของเส้น เช่น เส้นตั้งจะให้ความรู้สึกมั่นคง จริงจังเส้นซิกแซ็กจะให้ความรู้สึก ไม่หยุดนิ่ง ตื่นเต้นเส้นเฉียงจะให้ความรู้สึกรวดเร็วเส้นนอนจะให้ความรู้สึกสงบ นิ่งเฉย ผ่อนคลายเส้นโค้งลงสู่พื้นจะให้ความรู้สึกเศร้า เหนื่อยหน่าย อ่อนไหวเส้นที่กระจายออก เป็นรัศมีจะให้ความรู้สึกกระจายออก การระเบิด ความมีกำลังเพิ่มขึ้น ฯลฯ

36.       ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับรูปทรงเรขาคณิต

(1) ลายจำหลักหินรูปทรงกลม            (2) ตะกร้าย่านลิเภาลายสามเหลี่ยม

(3) ผ้าไหมลายนํ้าใหลจากน่าน           (4) จิตรกรรมฝาผนังลายเทพชุมนุม

ตอบ 4 หน้า 22360 (S) รูปทรง (Form) แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ 1. อินทรียรูป คือ รูปทรง ที่มีชีวิต มีกฎเกณฑ์และมีโครงสร้างที่แน่นอน        2. รูปทรงเรขาคณิต คือ รูปทรงที่เกิดจากการสร้างของมนุษย์ให้เกิดเป็นเส้นตรง เป็นรูปมีเหลี่ยมมุม รูปวงกลม รวมถึงการตกแต่ง ด้วยแบบลายเส้นในการจักสาน เช่น ตะกร้า ชะลอม กระบุง ลายในการถักทอ ฯลฯ 3. รูปทรงอิสระ คือ รูปทรงที่ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว และไม่มีโครงสร้าง

37.       ศิลปินสร้างสรรค์งานศิลปะจาก

(1) ธรรมชาติ   (2) คิดขึ้นเอง   (3) เลียนแบบจากงานอื่น        (4) เสียงเพลง

ตอบ 1 หน้า 10-11 ในการสร้างสรรค์งานศิลปะนั้น ธรรมชาติ ศิลปิน และการแสดงออกย่อมมี ความสัมพันธ์และส่งผลต่อกันจนไม่สามารถจะแยกสิ่งใดสิ่งหนึ่งออกได้ ทั้งนี้เพราะธรรมชาติ เปรียบเสมือนเป็นทรัพยากรทางความคิดให้ศิลปินสร้างสรรค์งานศิลปะ โดยดัดแปลงคิดค้น หารูปลักษณะ (Form) แบบใหม่ ๆ เพื่อรับใช้สังคมอย่างไม่รู้จักจบสิ้นนั่นเอง

38.       รูปทรงสี่เหลี่ยมให้ความรู้สึกอย่างไร

(1)หนักแน่น     (2)อ่อนไหว      (3)ไม่หยุดนิ่ง   (4)แข็งกระด้าง

ตอบ 1 หน้า 62 – 63 (S) รูปทรง สามารถสื่อความหมายและความรู้สึกได้เช่นเดียวกับวิธีการของเส้น เช่น รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสจะให้ความรู้สึกหนักแน่น เข้มแข็ง มั่นคงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าจะให้ ความรู้สึกตรงไปตรงมา เป็นกลาง เคร่งขรึม เอาจริงเอาจังรูปสี่เหลี่ยมคางหมูจะให้ความรู้สึก แปลกใหม่ สนุกสนานรูปวงกลมจะให้ความรู้สึกปลอดภัย มีพลังสูง ฯลฯ

39.       ลักษณะพิเศษของภาพจิตรกรรมไทย คือ

(1)       สองมิติ            (2) สามมิติ      (3)       ลายเส้น           (4) สีนํ้า

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 25. ประกอบ

40.       เส้นโค้ง หมายถึง

(1) ความไม่แน่นอน     (2) ความอ่อนไหว        (3)       ความแน่วแน่    (4) ความไม่หยุดนิ่ง

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 35. ประกอบ

41.       เส้นนอนมีความหมาย

(1) สงบ           

(2) รวดเร็ว       

(3)       ต้นพลัง            

(4) เหนื่อยหน่าย

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 35. ประกอบ

42.       เส้นที่กระจายออกเป็นรัศมี หมายถึง

(1) ความหวัง   

(2) ความทะเยอทะยาน           

(3) ความมีกำลังเพิ่มขึ้น           

(4) ความมีสง่า

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 35. ประกอบ

43.       เส้นที่มีลักษณะต่างกันและมีทิศทางต่างกัน

(1) ย่อมมีความกลมกลืนกัน    

(2) เกิดความไม่กลมกลืนกัน

(3) ไร้ชีวิตจิตใจ            

(4) มีความรู้สึกขัดแย้ง

ตอบ 2 หน้า 53 (S) หลักสำคัญในการออกแบบเส้นเพื่อให้รู้สึกว่ามีความกลมกลืนหรือตัดกันมีดังนี้

1.         เส้นที่มีลักษณะคล้ายกันและมีทิศทางใกล้กัน ย่อมกลมกลืนกัน

2.         เส้นที่มีลักษณะต่างกันและมีทิศทางต่างกัน ย่อมไม่กลมกลืนกัน

44.       ศิลปกรรมเพื่อประโยชน์ใช้สอยเกี่ยวข้องกับ

(1) ความดีงาม            (2) ความรื่นรมย์ทางใจ

(3) ความเชื่อถือศรัทธา            (4) ประโยชน์แก่ชีวิตประจำวัน

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 13. ประกอบ

ข้อ 45. – 49. จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคำถาม

(1) เพลโต        (2) ศิลป์ พีระศรี (3) ลียอป ตอลสตอย            (4) แรงบันดาลใจ        (5) นักโบราณคดี

45.       ศิลปกรรม

ตอบ 4 หน้า 7 ศิลปกรรมเป็นงานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์อันมีธรรมชาติเป็นแรงบันดาลใจ ซึ่งอาจจะเป็นสิ่งสวยงามหรือไม่ก็ได้ แต่ต้องมีส่วนช่วยเสริมสร้างจิตใจของมนุษย์ให้สูงขึ้น และศิลปะนั้นอาจแสดงออกมาในรูปที่เป็นศีลธรรมหรือไม่ก็ได้

46.       ศิลปะเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ

ตอบ 1 หน้า 6 เพลโต (Plato) มีความเห็นเกี่ยวกับศิลปะว่า ศิลปะเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ ผู้ที่จะเข้าใจและนิยมความงามในศิลปะได้มีเพียงนักปรัชญาเท่านั้น

47.       ศิลปะเป็นหลักฐานอ้างอิงทางประวัติศาสตร์

ตอบ 5 หน้า 7 นักโบราณคดี เห็นว่า ศิลปกรรมย่อมเป็นสิ่งสำคัญที่บ่งบอกถึงความเจริญในอดีต และศิลปะย่อมเป็นหลักฐานอ้างอิงทางประวัติศาสตร์ได้ดีที่สุด

48.       ศิลปะเป็นสะพานที่เชื่อมคติความเชื่อทางวัตถุและจิตใจ

ตอบ 2 หน้า 6 ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ได้ให้ความหมายของศิลปะว่า ศิลปะเป็นสะพานที่เชื่อม คติความเชื่อทางวัตถุกับทางจิตใจ เมื่อผู้ใดเข้าใจและรู้คุณค่าของศิลปะแล้วผู้นั้นก็อาจจะถึง ซึ่งความสุขที่แท้จริง

49.       ความประณีตไม่ใช่งานศิลปะ

ตอบ 3 หน้า 5-6 ลียอป ตอลสตอย (Lyof Talstoy) กล่าวถึงความหมายของศิลปะว่า ศิลปะที่มี ความประณีต ความงาม และความบันเทิงเริงใจนั้นหาใช่เป็นศิลปะไม่ แต่เป็นเพียงงานฝีมือ เพราะเป็นงานที่ขาดเงื่อนไขที่จำเป็นอย่างยิ่งของศิลปะ

ข้อ 50. – 54จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคำถาม

(1)       ศิลปะประยุกต์

(2) การแสดงออก

(3) มัณฑนศิลป์

(4) ธรรมชาติ

(5) วิจิตรศิลป์

50.       จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม วรรณศิลป์ และดุริยางคศิลป์ หมายถึง       

ตอบ 5 ดูคำอธิบายข้อ 17. ประกอบ

51.       ต่างหูและกำไลแขนจัดว่าเป็น

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 13. ประกอบ

52.       ศิลปะสำหรับประดับตกแต่งอาคารสถานที่ เรียกว่า  

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 13. ประกอบ

53.       สิ่งสำคัญอย่างหนึ่งของงานศิลปะ คือ           

ตอบ 2 หน้า 10 การแสดงออก (Expression) ถือเป็นกระบวนการขั้นสุดท้ายที่มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานศิลปะอย่างยิ่ง กล่าวคือ ถ้าเกิดอารมณ์สะเทือนใจจนก่อให้เกิดมโนภาพขึ้น ในจิตใจแต่มิได้แสดงออก งานศิลปะก็ไม่อาจสร้างสรรค์ขึ้นได้

54.       ทรัพยากรทางความคิดของศิลปิน คือ

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 37. ประกอบ

55.       ภาพเขียนของจีนเจริญสูงสุดในสมัยใด

(1) สมัยราชวงค์ฮั่น      

(2)       สมัยราชวงศ์ถัง            

(3) สมัยราขวงค์ซ่ง      

(4) สมัยราชวงศ์หมิง

ตอบ 2 หน้า 39220 ภาพเขียนของจีนเจริญสูงสุดในสมัยราชวงศ์ถัง ซึ่งถือเป็นยุคทองของศิลปะจีน ส่วนภาพเขียนในสมัยราชวงศ์ซ่งหรึอซ้องนั้น ศิลปินจีนนิยมเขียนภาพภูมิประเทศหรือภาพทิวทัศน์ อันสวยงาม เช่น ภาพภูเขา ต้นไม้ ฯลฯ ผลุบโผล่อยู่ในสายหมอก

56.       ข้อใดคือภาพหุ่นนิ่ง

(1)ฉากลับแล  (2)ตู้ลายรดน้ำ (3)เส้นรูปเหมือน          (4)รูปลายเรขาคณิต

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 26. ประกอบ

57.       ศิลปะจีนในสมัยราชวงศ์ซ่งนิยมเขียนภาพประเภทใด

(1)ภาพสงคราม           (2)ภาพเหมือน (3)ภาพนกดอกไม้        (4)ภาพทิวทัศน์

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 55. ประกอบ

58.       ลักษณะของศิลปกรรมคิวบิสม์

(1) บริสุทธิ์ไร้เดียงสา   (2) นิยมสลักจากก้อนหิน

(3) รูปทรงบิดเบี้ยว      (4) เหมือนธรรมชาติ

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 15. ประกอบ

59.       ศิลปะเพื่อประโยชน์ใช้สอยเรียกอีกอย่างว่า

(1) ศิลปะประทับใจ    (2) ศิลปะบริสุทธิ์         (3) ศิลปะโรแมนติก     (4) ศิลปะประยุกต์

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 13. ประกอบ

60.       ผลงานสูงสุดของมนุษย์คือข้อใด

(1) ศิลปะถํ้า

(2) ศิลปะเพื่อชีวิต

(3) ศาสนศิลปะ

(4) ศิลปะบริสุทธิ์

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 3. ประกอบ

61.       ช่างโบราณไม่กล้าแสดงรูปพระพุทธรูปเพราะ

(1) ยึดมั่นในพระศาสนามากเกินไป    

(2) ช่างไม่มีความชำนาญ

(3) เกรงกลัวต่อบาป    

(4) ปฏิบัติตามบรรพบุรุษ

ตอบ 1 หน้า 83 – 8443 (S) ศิลปะอินเดียสร้างขึ้นมาเนื่องจากศาสนา และเมื่อช่างโบราณยึดมั่น ในพระศาสนาและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ มากเกินไป ย่อมจะทำให้ไม่สามารถสร้างสรรค์ภาพพจน์ ของพระพุทธรูปได้อย่างอิสระ เช่น ในยุคที่เริ่มสร้างรูปเพื่อรำลึกถึงพุทธธรรม ช่างจะไม่นิยม ปั้นพระพุทธรูป แต่จะเว้นเหลือไว้แต่พระแท่นว่าง เพื่อแสดงให้เห็นว่าพระพุทธองค์นั้นหมดแล้วซึ่งความเห็นแก่ตัว ไม่ได้ยึดในตนอีกต่อไปหรือคล้ายกับปราศจากตัวตน

62.       ข้อใดเป็นวิจิตรศิลป์

(1) แจกันรูปแบบแปลกใหม่    

(2) ตึกสูงห้าสิบชั้น

(3) ภาพพิมพ์รูปวัด      

(4) ภาพเหมือนรูปดอกไม้

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 8. และ 17. ประกอบ

63.       โบราณวัตถุที่สำคัญที่โมเหนโจดาโร

(1) เครื่องมือหิน           

(2) หม้อดินเผา

(3) ตราประทับทำจากหินสบู่   

(4) ซากพระราชวังโบราณ

ตอบ 3 หน้า 59 อารยธรรมโมเหนโจดาโรและฮารัปปา เจริญขึ้นในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อระหว่างสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ของอินเดีย ทั้งนี้เพราะพบหลักฐานทางโบราณคดี ทั้งสองสมัย โดยหลักฐานที่เป็นโบราณวัตถุก่อนประวัติคาสตร์ที่สำคัญ คือ ตราประทับที่ทำด้วยหินสบู่ในรูปต่าง ๆ ซึ่งพบทั้งในแคว้นปัญจาบและสินธุ

64.       ข้อความใดเกี่ยวข้องกับคัมภีร์พระเวท

(1) อารยัน       (2) ศาสนาพุทธ           (3) ดราวิเดียน (4) ศาสนาเชน

ตอบ 1 หน้า 90 เมื่อชาวอารยันได้เข้ามายึดครองดิบแดนแถบลุ่มแม่น้ำสินธุและคงคา ก็ได้นำเอา คัมภีร์พระเวทเข้ามาเผยแพร่ในอินเดียด้วย ซึ่งคัมภีร์พระเวทนี้มีอิทธิพลต่อคติความเชื่อ นบธรรมเนียมประเพณี ตำนานเก่าแก่ และนิยายพื้นเมืองของชาวอารยันมาก

65.       หัวเสาแบบโครินเธียน เป็นอิทธิพลของศิลปะใด

(1) กริก            (2) อียิปต์        (3) เปอร์เซีย    (4) เมโสโปเตเมีย

ตอบ 1 หน้า 94 – 95121 – 122 (S) สถาปัตยกรรมในศิลปะคันธารราฐของอินเดียจะได้รับอิทธิพล จากศิลปะกรีก เช่น การนิยมทำหัวเสาแบบโครินเธียน (Corinthian) ซึ่งมักจะประดับลวดลาย ด้วยเครื่องประดับต่าง ๆ บนหัวเสา เช่น ลายใบอาคันธัส ลายใบปาล์ม ลายพวงองุ่น และลายกามเทพแบกพวงมาลัย ฯลฯ

66.       พระพุทธรูปคันธารราฐมีการครองจีวรแบบใด

(1) ห่มคลุมพระอังสาทั้งสองข้าง จีวรเป็นริ้ว    (2) ห่มเปิดพระอังสาขวา

(3) ห่มเปิดพระอังสาซ้าย         (4) ห่มคลุมพระอังสาทั้งสองข้าง จีวรเรียบ

ตอบ 1 หน้า 93 – 94 พระพุทธรูปสมัยคันธารราฐของอินเดียจะมีความสวยงามตามแบบศิลปะกรีก อย่างชัดเจน ซึ่งจะเห็นได้จากพระพักตร์ พระเกศา และการครองจีวรที่แทบจะไม่มีลักษณะ ของอินเดียเหลืออยู่เลย คือ มีการครองจีวรห่มคลุมพระอังสา (บ่าหรือไหล่) ทั้ง 2 ข้าง โดยมี จีวรแนบกันมากับพระองค์ และมีริ้วนูนหนาเป็นวงโค้งซ้อนกันทางด้านหน้า

67.       พระพุทธรูปยกชายจีวรขึ้นระหว่างพระโสณี

(1) พระพุทธรูปคันธารราฐ       (2) พระพุทธรูปมถุรา

(3) พระพุทธรูปอมราวดี           (4) พระพุทธรูปคุปตะ

ตอบ 2 หน้า 95, (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 55) การครองจีวรของพระพุทธรูปมถุราจะเป็นแบบใหม่ คือ ครองเฉพาะจีวรและสบงโดยไม่ปรากฏว่ามีสังฆาฏิ และมักห่มเฉียง เปิดพระอังสาซ้าย พระหัตถ์ซ้ายมักยกชายจีวรขึ้นระหว่างพระโสณี (ตะโพก)

68.       ศิลปะอินเดียที่เจริญขึ้นแถบแม่นํ้ากฤษณา คือ

(1) ศิลปะคันธารราฐ   (2) ศิลปะมถุรา            (3) ศิลปะอมราวดี       (4) ศิลปะคุปตะ

ตอบ 3 หน้า 97 – 98 ศิลปะอมราวดี (พุทธศตวรรษที่ 7-9) เจริญขึ้นทางตอนใต้ของประเทศอินเดีย แถบลุ่มแม่นํ้ากฤษณาโดยเฉพาะที่เมืองอมราวดี นาคารชุนิโกณฑะ ชัคคัยยะเปฎะ และโคลิ ภายใต้การอุปถัมภ์ของราชวงศ์สัตตวาหนะ เมื่อประมาณต้นพุทธศตวรรษที่ 6 โดยมีสถาปัตยกรรม ที่สำคัญที่สุด คือ สถูปสำหรับบรรจุพระบรมอัฐิธาตุของพระพุทธเจ้า

69.       สถาปัตยกรรมที่สำคัญของศิลปะสมัยอมราวดี คือ

(1) ศาสนสถานที่สลักลึกเข้าไปในภูเขา          (2) สถูปสำหรับบรรจุพระบรมอิฐิของพระพุทธเจ้า

(3) ศสนสถานที่สร้างขึ้นกลางแจ้ง    (4) พระเจดีย์สำหรับบรรจุพระบรมอิฐิของพระพุทธเจ้า

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 68. ประกอบ

70.       พระพุทธรูปอินเดียเริ่มเป็นแบบอย่างของศิลปะอินเดียอย่างแท้จริงในสมัยใด

(1) สมัยคันธารราฐ      (2) สมัยมถุรา  (3) สมัยคุปตะ (4) สมัยอมราวดี

ตอบ 2 หน้า 959799 พระพุทธรูปอินเดียเริ่มเป็นแบบอย่างของศิลปะอินเดียในสมัยมถุรา(พุทธศตวรรษที่ 7-8) แต่ความเป็นอินเดียอย่างแท้จริงและลักษณะของมหาบุรุษปรากฏขึ้น อย่างครบครันในพระพุทธรูปสมัยอมราวดี (พุทธศตวรรษที่ 7-9) ซึ่งถือได้ว่ามีความงาม ตามแบบอินเดียโดยแท้ เพราะไม่เห็นลักษณะของอิทธิพลต่างชาติเลย

71.       ศาสนสถานในศิลปะคุปตะ

(1) ได้รับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ์            

(2) นิยมทำหลังคาเป็นชั้น ๆ

(3) นิยมสลักลึกเข้าไปในภูเขา            

(4) นิยมสร้างสถูปเป็นพื้น

ตอบ 1 หน้า 102 สถาปัตยกรรมในสมัยคุปตะจะนิยมสร้างไว้กลางแจ้ง โดยในสมัยพระเจ้าจันทรคุปต์ ที่ 2 พุทธศาสนสถานที่สร้างขึ้น เช่น โบสถ์ วิหาร สถูป ฯลฯ มักจะเลียนแบบจากเทวาลัยของ ศาสนาพราหมณ์ ซึ่งลักษณะทางสถาปัตยกรรมเช่นนี้ได้ให้อิทธิพลต่อการสร้างเจดีย์ของพม่า (Pagoda) และบุโรพุทโธของอินโดนีเซียด้วย

72.       มหาวิทยาลัยนาลันทาในอินเดียเป็นมหาวิทยาลัยแห่ง

(1)พุทธศาสนา            

(2)ศาสนาพราหมณ์     

(3)ศาสนาอิสลาม        

(4)ศาสนาเชน

ตอบ 1 หน้า 213152 (S) มหาวิทยาลัยนาลันทาในอินเดีย เป็นงานสถาปัตยกรรมในสมัยศิลปะปาละ -เสนะ ซึ่งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ถือเป็นมหาวิทยาลัยแห่งพุทธศาสนา โดยเป็นศูนย์กลางใหญ่ ของพุทธศาสนาลัทธิตันตระ อยู่ใบแคว้นเบงกอล

73.       พระพุทธรูปยุคทองของอินเดียเริ่มเสื่อมลงหลังพุทธศตวรรษ

(1)ที่ 12           

(2)ที่13                       

(3)ที่ 14            

(4)ที่ 15

ตอบ 1 หน้า 101 – 103 พระพุทธรูปสมัยคุปตะ ซึ่งเป็นพระพุทธรูปยุคทองของอินเดียเริ่มเสื่อมลง เมื่อหมดสมัยของพระเจ้ากุมารคุปต์ในพุทธศตวรรษที่ 12 และหลังจากนี้เป็นต้นไป ประติมากรรมต่าง ๆ จะมีร่างกายหนักทึบและเพิ่มลวดลายมากขึ้น ส่วนภาพเขียนที่เป็น ภาพบุคคลนั้นก็จะเพิ่มรายละเอียดและเครื่องประดับ ทำให้ภาพบุคคลเดียว ๆ ดูแข็งกระด้าง ไม่มีชีวิตจิตใจอีกต่อไป

74.       พระพุทธรูปสมัยคุปตะของอินเดีย

(1)       มีความงามอย่างเรียบง่าย แต่รูปประติมากรรมหนักทึบ

(2)       มักนิยมห่มคลุมพระอังสาสองข้าง จีวรเป็นริ้ว เป็นพระพุทธรูปกรีก

(3)       ขมวดพระเกศาวนขวา นิยมห่มเฉียงเปีดพระอังสาซ้าย จีวรเป็นริ้ว

(4)       นิยมแสดงให้เห็นว่าพระพุทธองค์ทรงเป็นทั้งพระมหากษัตริย์และเทวดา

ตอบ 4 หน้า 101 พระพุทธรูปสมัยคุปตะของอินเดียจะไม่นิยมแสดงให้เห็นว่าพระพุทธรูปเป็นมนุษย์ อย่างแท้จริง แต่เป็นทั้งพระมหากษัตริย์และเทวดา หรืออาจจะกล่าวได้ว่าเป็นกึ่งมนุษย์กึ่งเทวดา ก็ได้ ดังเช่นที่ช่างคุปตะไม่ได้แสดงให้เห็นมุกขลึงค์อันเป็นลักษณะที่แสดงให้รู้ถึงเพศเลย

75.       พระพุทธรูปทวารวดียุคแรกได้รับอิทธิพลของศิลปะใด

(1) ศิลปะอมราวดี คุปตะ หลังคุปตะ  (2) ศิลปะขอมแบบปาปวน

(3) ศิลปะพื้นเมือง       (4) ศิลปะอิสลาม

ตอบ 1 หน้า 123 – 124 พระพุทธรูปทวารวดีแบ่งเป็น 3 รุ่นดังนี้

1.         รุ่นที่ 1 แสดงอิทธิพลของศิลปะอมราวดี คุปตะและหลังคุปตะ มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 12

2.         รุ่นที่ 2 แสดงอิทธิพลของศิลปะพื้นเมืองมากยิ่งขึ้น มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 13 – 15

3.         รุ่นที่ 3 แสดงอิทธิพลของศิลปะขอมแบบปาปวนหรือศิลปะลพบุรีตอนต้น มีอายุราว พุทธศตวรรษที่ 15 ลงมา

76.       ศิลปะยุคทองของศิลปะในแต่ละประเทศ

(1) นิยมความสวยงามแบบเดียวกัน   (2) แสดงออกถึงความอ่อนหวาน

(3) เปลี่ยนแปลงไปตามความนิยมของยุคสมัย           (4) ไม่เป็นที่นิยมของยุคต่อมา

ตอบ 3 หน้า 39 – 40 ศิลปะยุคทอง เป็นศิลปวัฒนธรรมของแต่ละชาติที่มีความเจริญคลี่คลายถึง จุดสูงสุด มีลักษณะเป็นอุดมคติของตนเอง และมีความสวยงามจนไม่มีศิลปะสมัยใดเทียบได้ แต่ความนิยมในเรื่องความงามอันถือว่าเป็นยุคทองของศิลปกรรมนี้ยอมเปลี่ยนแปลงไปตาม คตินิยม วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีของกลุ่มศิลปินในแต่ละยุคแต่ละสมัย

77.       ยุคทองของศิลปะอินเดียเจริญขึ้นในระหว่างพุทธศตวรรษที่เท่าใด

(1)ที่3-5           (2)ที่5-7           (3)ที่7-9           (4)ที่9-11

ตอบ 4 หน้า 100109 ยุคทองของศิลปะอินเดียซึ่งเป็นศิลปะที่มีความงามสูงสุด คือ ศิลปะสมัยคุปตะ ที่เจริญขึ้นในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 9-11 ภายใต้การอุปถัมภ์ของราชวงศ์คุปตะ และในยุคนี้ ยังเป็นยุคแห่งความเจริญรุ่งเรืองทางด้านปรัชญาการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องในศาสนาอีกด้วย

78.       วัฒนธรรมของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์แสดงออกมาในรูปใด

(1) ภาษา         (2) อักษร         (3) ศิลปกรรม  (4) เพลงร้อง

ตอบ 3 หน้า 47 วัฒนธรรมของมนุษย์ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ มักแสดงออกมาในรูปของศิลปกรรม นับตั้งแต่เครื่องใช้ไม้สอย เครื่องปั้นดินเผา และเครื่องประดับต่าง ๆ ล้วนเป็นสิ่งที่บ่งบอกให้รู้ ถึงความเจริญรุ่งเรืองของสังคม ชีวิตความเป็นอยู่ และเทคโนโลยีในสมัยนั้น ๆ ได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้เพราะมนุษย์ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ยังไม่มีตัวอักษรสำหรับการจดบันทึก

79.       เมื่อประติมากรรมและภาพเขียนในศิลปะคุปตะเสื่อมลงแล้ว

(1) นิยมเพิ่มรายละเอียดและเครื่องประดับมากขึ้น    (2) นิยมเพิ่มตัวบุคคลในภาพมากขึ้น

(3) นิยมใช้สีสันสดและหลายสีมากยิ่งขึ้น       (4) นิยมทำภาพเคลื่อนไหวมากยิ่งขึ้น

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 73. ประกอบ

80.       ภาพเขียนในสมัยคุปตะ

(1)       เมื่อทำภาพสามมิติ ช่างนิยมทำภาพที่อยู่ใกล้ใหญ่และอยู่ไกลเล็กลง

(2)       เมื่อทำภาพสามมิติ ช่างนิยมทำเป็นภาพซ้อน ๆ กันขึ้นไป

(3)       เมื่อทำภาพสามมิติ ช่างนิยมทำภาพที่ต้องการเน้นให้ใหญ่เป็นพิเศษ

(4)       เมื่อทำภาพสามมิติ ช่างนิยมแบ่งภาพออกเป็นช่วง ๆ

ตอบ 2 หน้า 103 ภาพเขียนในสมัยคุปตะจะนิยมเขียนแบ่งเป็นช่วง ๆ และมีลวดลายประดับตกแต่ง ส่วนการทำภาพให้เป็นสามมิตินั้น ช่างคุปตะนิยมทำเป็นภาพซ้อน ๆ กันขึ้นไป โดยภาพบุคคล ที่อยู่ไกลจะเขียนให้รูปเล็กลง จึงทำให้เกิดเป็นภาพสามมิติขึ้นมาได้

81.       ลักษณะพิเศษของศิลปะปาละ-เสนะ คือประติมากรรม

(1) หนักทึบ ไม่มีความงามแต่อย่างใด 

(2) มักมีแผ่นหลังประกอบ

(3) ตั้งอยู่บนฐานที่สูงขึ้น         

(4) มีรูปอวบอ้วน ชายสังฆาฏิยาวจรดพระนาภี

ตอบ 2 หน้า 105 ลักษณะพิเศษของศิลปะปาละและเสนะ คือ ประติมากรรมมักมีแผ่นหลังประกอบ ซึ่งมีลวดลายประดับอยู่มากมายติดอยู่กับพระพุทธรูป โดยพระพุทธรูปส่วนใหญ่ในสมัยนี้ มักเป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องที่หล่อด้วยสำริดและสร้างด้วยศิลา แต่ไม่มีความสวยงามเลย

82.       จิตรกรรมในสมัยโบราณมักพบ

(1)ตามถํ้า        

(2)ตามแผ่นจารึก         

(3)ตามฐานพระพุทธรูป           

(4)ตามแผ่นหิน

ตอบ 1 หน้า 49 – 51 จิตรกรรมในสมัยโบราณก่อนประวัติศาสตร์มักพบตามถํ้า เช่น ตามผนังถํ้า และเพดานถํ้าที่อยู่ลึกจากปากถํ้าเข้าไป บางครั้งจึงเรียกว่า ศิลปะถ้ำ” โดยถํ้าแรกสุดที่พบ จิตรกรรมภาพเขียนของคนก่อนประวัติศาสตร์ที่เก่าที่สุด คือ ถํ้า Altamira ที่อยู่ทางตอนเหนือ ของสเปน โดยพบภาพเขียนเป็นภาพกวางตัวเมีย ส่วนที่ถํ้า Laussel ในฝรั่งเศส ได้พบภาพเขียน เป็นภาพสัตว์ เช้น รูปม้า วัวไบซัน และกวาง

83.       สมัยหินกลาง หมายถึง

(1) ยุคสมัยหนึ่งของสมัยก่อนประวัติคาสตร์   

(2) สมัยกลางของสมัยก่อนประวัติศาสตร์

(3) สมัยที่คนสมัยหินรู้จักใช้หินเป็นอาวุธ        

(4) สมัยที่คนสมัยหินรู้จักใช้เหล็กเป็นอาวุธ

ตอบ 1 หน้า 49 – 5663 – 6875 ยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์ทั้งของยุโรปและของไทย แบ่งออกเป็น 4 ยุค คือ 1. ยุคสมัยหินเก่า 2. ยุคสมัยหินกลาง 3. ยุคสมัยหินใหม่ 4. ยุคสมัยโลหะ

84.       ประติมากรรมของคนสมัยหินนั้นมักแสดงออกถึงสิ่งใด

(1) ความต้องการให้ฝนฟ้าตกตามฤดูกาล      (2) ความมีบุตรหลานมากมาย

(3) ความมั่งมีศรีสุข     (4) ความอุดมสมบูรณ์

ตอบ 4 หน้า 51 ประติมากรรมที่ทำขึ้นครั้งแรกของคนสมัยหินหรือสมัยก่อนประวัติศาสตร์จะนิยมทำเป็นรูปผู้หญิงไม่มีหน้าตา แต่มีรูปร่างอ้วน แสดงว่าประติมากรรมที่ทำขึ้นมานี้ มีความเกี่ยวข้องกับความอุดมสมบูรณ์ และแสดงออกถึงการนับถือเพศแม่อย่างชัดเจน เช่น พบประติมากรรมลอยตัวที่ประเทศเยอรมนี คือ วีนัส วีเลนดอร์ฟ (Venus of Willendorf) ซึ่งเป็นเทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์

85.       หุบเขานามาดาของอินเดียมีความสำคัญ คือ

(1) เป็นแหล่งที่พบภาพเขียนที่ถํ้ามากที่สุด     (2) เป็นแหล่งที่มีทิวทัศน์สวยงามมากที่สุด

(3) เป็นแหล่งที่พบขวานหินมากที่สุด  (4) เป็นแหล่งที่พบภาชนะที่ทำด้วยโลหะมากที่สุด

ตอบ 1 หน้า 216, (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 38) ถํ้าในหุบเขานามาดา (Namada) ของประเทศ อินเดีย เป็นแหล่งที่พบจิตรกรรมภาพเขียนฝาผนังสมัยก่อนประวัติศาสตร์มากที่สุด โดยรูปภาพ และเทคนิคการเขียนจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับภาพเขียนในถํ้าที่พบในประเทศสเปนและฝรั่งเศส

86.       สถาปัตยกรรมในยุคแรกเริ่มของอินเดีย

(1) มีความเรียบง่ายมากที่สุด  (2) มักเจาะลึกเข้าไปในภูเขา

(3) มักสร้างด้วยดินเหนียวและไม้       (4) มักพบตามถํ้า

ตอบ 3 หน้า 90 นักโบราณคดีให้ความเห็นว่า สถาปัตยกรรมในยุคแรกเริ่มของอินเดียนั้นคงจะสร้างด้วยดินเหนียวและไม้ซึ่งแตกสลายได้ง่าย ดังนั้นจึงไม่เหลือร่องรอยให้คนรุ่นหลังได้เห็น ทำให้สถาปัตยกรรมและศิลปกรรมเก่าสุดที่เหลืออยู่ไม่เก่าไปกว่าพุทธศตวรรษที่ 3 แม้ว่า พุทธศาสนาจะเจริญขึ้นในอินเดียตั้งแต่พุทธกาลมาแล้วก็ตาม

87.       ศาสนาพุทธเจริญขึ้นในแคว้นใดของอินเดีย

(1) แคว้นปัญจาบ        (2) แคว้นอัสสัม           (3) แคว้นมคธ  (4) แคว้นสินธุ

ตอบ 3 หน้า 90 พระพุทธศาสนาเจริญขึ้นในอินเดียที่แคว้นมคธหรือมคธราฐในสมัยพระเจ้าพิมพิสาร และเจริญขึ้นถึงขีดสุดในสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราชราวพุทธศตวรรษที่ 3 ดังนั้นในยุคแรกเริ่ม ของการทำศิลปกรรมอินเดียนี้ พุทธศาสนาจึงมีบทบาทเป็นอย่างมาก

88.       พุทธศิลปะในยุคแรกเริ่มของอินเดีย

(1) มักเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงพุทธประวัติ  (2) มักเป็นพระพุทธรูปประทับนั่งสมาธิ

(3) มักเป็นพระพุทธเจดีย์        (4) มักเป็นศาสนสถาน

ตอบ 4 หน้า 91 พุทธศิลปะในยุคแรกเริ่มของอินเดียที่เหลือร่องรอยไว้ให้ชนรุ่นหลังได้เห็นเก่าสุด คือ ศิลปกรรมในสมัยพระเจ้าอโคกมหาราช พุทธศตวรรษที่ 3 ที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะกรีกและ อิหร่าน (เปอร์เซีย) เช่น มักสร้างเป็นศาสนสถานที่เจาะลึกเข้าไปในภูเขา โดยมีลักษณะเป็นถํ้า ซึ่งมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ เป็นถํ้าวิหาร และถํ้าเจดีย์สถาน

89.       พระพุทธรูปคันธารราฐเกี่ยวข้องกับข้อใด

(1) มีความสวยงามตามธรรมชาติ       (2) มีความสวยงามตามแบบศิลปะกรีก

(3) มีความสวยงามตามแบบศิลปะอินเดีย      (4) มีความสวยงามที่เรียบง่ายมาก

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 66. ประกอบ

90.       สถาปัตยกรรมเก่าสุดที่พบในอินเดียไม่เก่าไปกว่า

(1) พุทธศตวรรษที่ 1

(2) พุทธศตวรรษที่ 2

(3) พุทธศตวรรษที่ 3

(4) พุทธศตวรรษที่ 4

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 86. ประกอบ

91.       จิตรกรรมตามผนังถํ้าของอินเดียเก่าสุดอยู่ในสมัยใด

(1) สมัยหินเก่า            

(2) สมัยหินกลาง         

(3) สมัยหินใหม่           

(4) สมัยโลหะ

ตอบ 2 หน้า 5875 จิตรกรรมตามผนังถํ้าของอินเดียที่เก่าที่สุดอยู่ในสมัยหินกลาง โดยมีการพบหลักฐาน ที่ถํ้า The Great Billa Surgam Cave ใน Kurnool ซึ่งลักษณะของการเขียนภาพที่ปรากฏ ในถํ้าไม่ว่าจะเป็นรูปคน สัตว์ อาวุธ และเครื่องใช้ จะมีลักษณะคล้ายคลึงกับภาพเขียนในถํ้า ของประเทศฝรั่งเศสตามแบบของพวกแมกดาเลเนียน

92.       จิตรกรรมตามผนังถํ้าฃองไทยเก่าสุดอยู่ในสมัยใด

(1) สมัยหินเก่า            

(2)       สมัยหินกลาง   

(3)       สมัยหินใหม่     

(4)       สมัยโลหะ

ตอบ 1 หน้า 71108 (S), (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 39) จิตรกรรมตามผนังถํ้าของไทยที่เก่าที่สุดอยู่ในสมัยหินเก่า ซึ่งมีการพบหลักฐานทั้งภาคตะวันออกเฉียงเหนีอ ภาคใต้ และภาคกลาง เช่น มีการพบการสลักเพิงผาที่เก่าที่สุดที่ถํ้ามิ้ม จ.อุดรธานี หรือมีการพบรูปมือคนที่ถํ้าฝ่ามือ จ.ขอนแก่น เป็นต้น

93.       ถํ้าฝ่ามืออยู่ในจังหวัดใด

(1) ขอนแก่น    

(2)       เชียงราย          

(3)       กาญจนบุรี       

(4)       อุดรธานี

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 92. ประกอบ

94.       จิตรกรรมในถํ้าที่หุบเขานามาดาเหมือนภาพเขียนที่ใด

(1) เยอรมนี      (2)       ฝรั่งเศส            (3)       อังกฤษ            (4)       อิตาลี

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 85. ประกอบ

95.       โมเหนโจดาโรและฮารัปปา อยู่ในประเทศใด

(1) สเปน         (2)       อิตาลี   (3)       อินเดีย (4)       อินโดนีเซีย

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 63. ประกอบ

ข้อ 96. – 100. ให้ระบายตัวเลือก 1 เมื่อเห็นว่าถูก ให้ระบายตัวเลือก 2 เมื่อเห็นว่าผิด

96.       สภาพแวดล้อมและประเพณีในสังคมที่แตกต่างกันย่อมทำให้ศิลปกรรมมีรูปแบบที่ต่างกัน

ตอบ 1 หน้า 1619 สภาพแวดล้อม (ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ฯลฯ) วัสดุที่นำมาใช้ สภาพสังคม ประเพณี และระบบการปกครองที่แตกต่างกัน ย่อมมีผลทำให้แบบอย่างและลักษณะของ งานศิลปะแตกต่างกันไปด้วย เช่น ในประเทศที่ฝนตกชุกก็นิยมทำหลังคายื่นยาวออกมาเพื่อกันแดดและคุ้มฝน ส่วนประเทศที่แห้งแล้งก็มักทำหลังคางอนโค้งเพื่อรองรับนํ้าฝน เป็นต้น

97.       ความเข้าใจในศิลปะย่อมสามารถพัฒนารสนิยมของคนให้ดีขึ้น

ตอบ 1 หน้า 4 นักปราชญ์และศิลปินทั้งหลายให้ความเห็นว่า ความรู้สึกซาบซึ้งและเข้าใจในศิลปะ หรือการประจักษ์ในด้านความงาม เป็นสิ่งสำคัญที่สุดที่จะช่วยพัฒนารสนิยมของคนให้ดีขึ้น ซึ่งถ้าคนเรารู้จักศึกษาและหาประสบการณ์ใหม่ ๆ พร้อมทั้งเอาใจใส่ที่จะเปลี่ยนแปลงและ ปรับปรุงตัวเองอยู่เสมอ รสนิยมในขั้นพื้นฐานที่มีอยู่ก็จะเกิดมีวิวัฒนาการใหม่และดีขึ้น

98.       วัฒนธรรมย่อมคู่กับศิลปกรรมเสมอ

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 7. ประกอบ

99.       ศิลปกรรมย่อมบ่งบอกถึงวิถีชีวิตของคนในยุคนั้น ๆ

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 7. ประกอบ

100.    ศิลปินในยุคปัจจุบันมีความเห็นว่าศิลปะย่อมมีพื้นฐานมาจากความงามและความดี

ตอบ 2 หน้า 5-6 นักปรัชญาสมัยเก่ามักจะกล่าวถึงศิลปะว่ามีพื้นฐานมาจากความงามและความดี ในขณะที่นักปรัชญาในยุคปัจจุบันกลับมีความเห็นเกี่ยวกับเรื่องของศิลปะแตกต่างไปจาก นักปรัชญาสมัยเก่า โดยกล่าวว่า ศิลปะคือการสะท้อนความจริงของชีวิตตามที่เป็นอยู่จริง และความแท้จริงนั้นก็คือความงาม ซึ่งความงามของศิลปะอาจจะหมายถึงการพรรณนาเรื่องราว ในชีวิตทั้งในแง่ดีและไม่ดีก็ได้

ART1003 ศิลปะวิจักษณ์ การสอบไล่ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2555

การสอบไล่ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2555

ข้อสอบกระบวนวิชา ART 1003 ศิลปะวิจักษณ์

คำสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว (ข้อสอบมีทั้งหมด 100 ข้อ)

1.         จิตรกรรมตามผนังถํ้าของอินเดียเก่าสุดอยู่ในสมัยใด

(1)       สมัยหินเก่า      

(2) สมัยหินกลาง         

(3) สมัยหินใหม่           

(4) สมัยโลหะ

ตอบ 2 หน้า 5875 จิตรกรรมตามผนังถํ้าของอินเดียที่เก่าที่สุดอยู่ในสมัยหินกลางโดยมีการพบหลักฐาน ที่ถํ้า The Great Billa Surgam Cave ใน Kurnool ซึ่งลักษณะของการเขียนภาพที่ปรากฏ ในถํ้าไม่ว่าจะเป็นรูปคน สัตว์ อาวุธ และเครื่องใช้ จะมีลักษณะคล้ายคลึงกับภาพเขียนในถ้ำของประเทศฝรั่งเศสตามแบบของพวกแมกดาเลเนียน

2.         จิตรกรรมในถํ้าที่หุบเขานามาดาเหมือนภาพเขียนที่ใด

(1)       เยอรมนี           

(2) ฝรั่งเศส      

(3) อังกฤษ      

(4) อิตาลี

ตอบ 2 หน้า 216, (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 38) หุบเขานามาดา (Namada) ของประเทศอินเดีย เป็นแหล่งที่พบจิตรกรรมภาพเขียนฝาผนังในถํ้าสมัยก่อนประวัติศาสตร์มากที่สุด โดยรูปภาพ และเทคนิคการเขียนจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับภาพเขียนในถํ้าที่พบในประเทศสเปนและฝรั่งเศส

3.         สถาบัตยกรรมที่สำคัญของศิลปะสมัยอมราวดี คือ

(1)       ศาสนสถานที่สลักลึกเข้าไปในภูเขา    

(2) สถูปสำหรับบรรจุพระบรมอิฐิของพระพุทธเจ้า

(3) ศาสนสถานที่สร้างขึ้นกลางแจ้ง    

(4) พระเจดีย์สำหรับบรรจุพระบรมอัฐของพระพุทธเจ้า

ตอบ 2 หน้า 97 – 98 ศิลปะอมราวดี (พุทธศตวรรษที่ 7 – 9) เจริญขึ้นทางตอนใต้ของประเทศอินเดีย แถบลุ่มแม่นํ้ากฤษณาโดยเฉพาะที่เมืองอมราวดี นาคารชุนิโกณฑะ ชัคคัยยะเปฎะ และโคลิ ภายใต้การอุปถัมภ์ของราชวงศ์สัตตวาหนะ เมื่อประมาณต้นพุทธศตวรรษที่ 6 โดยมีสถาปัตยกรรม ที่สำคัญที่สุด คือ สถูปสำหรับบรรจุพระบรมอิฐิธาตุของพระพุทธเจ้า

4.         ภาพเขียนในสมัยคุปตะ

(1)       เมื่อทำภาพสามมิติ ช่างนิยมทำภาพที่อยู่ใกล้ใหญ่และอยู่ไกลเล็กลง

(2)       เมื่อทำภาพสามมิติ ช่างนิยมทำเป็นภาพซ้อน ๆ กันขึ้นไป

(3)       เมื่อทำภาพสามมิติ ช่างนิยมทำภาพที่ต้องการเน้นให้ใหญ่เป็นพิเศษ

(4)       เมื่อทำภาพสามมิติ ช่างนิยมแบ่งภาพออกเป็นช่วง ๆ

ตอบ 2 หน้า 103 ภาพเขียนในสมัยคุปตะจะนิยมเขียนแบ่งเป็นช่วง ๆ และมีลวดลายประดับตกแต่ง ส่วนการทำภาพให้เป็นสามมิตินั้น ช่างคุปตะนิยมทำเป็นภาพซ้อน ๆ กันขึ้นไป โดยภาพบุคคลที่อยู่ไกลจะเขียนให้รูปเล็กลง จึงทำให้เกิดเป็นภาพสามมิติขึ้นมาได้

5.         ทิวเขาหิมาลัยอยู่ทางทิศใดของประเทศอินเดีย

(1)       ทิศตะวันออก   (2) ทิศตะวันตก           (3) ทิศเหนือ     (4) ทิศใต้

ตอบ 3 หน้า 81 ประเทศอินเดียมีพื้นที่เป็นรูปสามเหลี่ยม ทางทิศเหนือมีทิวเขาหิมาลัยเหยียดยาว จากตะวันออกไปยังตะวันตก ซึ่งเป็นบ่อเกิดของแม่นํ้าสินธุและแม่น้ำคงคา

6.         ศิลปะอินเดียที่เจริญขึ้นแถบแม่น้ำกฤษณา คือ

(1) ศิลปะคันธารราฐ   (2) ศิลปะมถุรา            (3) ศิลปะอมราวดี       (4) ศิลปะคุปตะ

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 3. ประกอบ

7.         หุบเขานามาดาของอินเดียมีความสำคัญ คือ

(1) เป็นแหล่งที่พบภาพเขียนที่ถํ้ามากที่สุด     (2) เป็นแหล่งที่มีทิวทัศน์สวยงามมากที่สุด

(3) เป็นแหล่งที่พบขวานหินมากที่สุด  (4) เป็นแหล่งที่พบภาชนะที่ทำด้วยโลหะมากที่สุด

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 2. ประกอบ

8.         สถาปัตยกรรมเก่าสุดที่พบในอินเดียไม่เก่าไปกว่า

(1) พุทธศตวรรษที่ 1    (2) พุทธศตวรรษที่ 2    (3) พุทธศตวรรษที่ 3    (4) พุทธศตวรรษที่ 4

ตอบ 3 หน้า 90 นักโบราณคดีให้ความเห็นว่า สถาปัตยกรรมในยุคแรกเริ่มของอินเดียนั้นคงจะ สร้างด้วยดินเหนียวและไม้ซึ่งแตกสลายได้ง่าย ดังนั้นจึงไม่เหลือร่องรอยให้คนรุ่นหลังได้เห็น ทำให้สถาปัตยกรรมและศิลปกรรมเก่าสุดที่เหลืออยู่ไม่เก่าไปกว่าพุทธศตวรรษที่ 3 แม้ว่า พุทธศาสนาจะเจริญขึ้นในอินเดียตั้งแต่พุทธกาลมาแล้วก็ตาม

9.         ยุคทองของศิลปะอินเดียเจริญขึ้นในระหว่างพุทธศตวรรษที่เท่าใด

(1) ที่ 3 – 5       (2) ที่ 5 – 7       (3) ที่ 7 – 9       (4) ที่ 9 – 11

ตอบ 4 หน้า 100109 ยุคทองของศิลปะอินเดียซึ่งเป็นศิลปะที่มีความงามสูงสุด คือ ศิลปะสมัยคุปตะ ที่เจริญขึ้นในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 9-11 ภายใต้การอุปถัมภ์ของราชวงศ์คุปตะ และในยุคนี้ ยังเป็นยุคแห่งความเจริญรุ่งเรืองทางด้านปรัชญาการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องในศาสนาอีกด้วย

10.       จากแบบอย่างศิลปะต่างชาติ ได้กลายเป็นแบบอย่างของศิลปะอินเดียอย่างแท้จริงเพราะ

(1)       ทิวเขาหิมาลัยขวางกั้นความเจริญจากภายนอก

(2)       ภูมิประเทศมีทิวเขามากมายขวางกั้นความเจริญจากภายนอก

(3)       ช่างอินเดียมีความสามารถพิเศษในการดัดแปลง      

(4) ถูกทั้งข้อ 2 และ 3

ตอบ 4 หน้า 82109 ศิลปกรรมรุ่นแรกของอินเดียจะปรากฏอิทธิพลของศิลปะเมโสโปเตเมียศิลปะอิหร่าน และศิลปะกรีกอย่างเห็นได้ชัด แต่ด้วยอิทธิพลของลักษณะภูมิประเทศที่มีทิวเขา มากมายขวางกั้นความเจริญจากโลกภายนอก และความชำนาญของช่างพื้นเมืองที่มีความสามารถ พิเศษในการดัดแปลง จึงทำให้ศิลปะอินเดียได้กลายจากอิทธิพลของศิลปะต่างชาติมาเป็นแบบอย่าง ของศิลปะอินเดียที่มีความงดงามตามแบบอุดมคติของศิลปะทางตะวันออกอย่างแท้จริง

11.       ศิลปกรรมรุ่นแรกของอินเดียปรากฏมิอิทธิพลของ

(1) ศิลปะอียิปต์          

(2) ศิลปะเมโสโปเตเมีย          

(3) ศิลปะเขมร 

(4) ศิลปะจีน

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 10. ประกอบ

12.       วัฒนธรรมโมเหนโจดาโรและฮารัปปาเจริญขึ้นแถบลุ่มแม่นํ้า

(1) คงคา         

(2) ยมนา         

(3) สินธุ           

(4) กฤษณา

ตอบ 3 หน้า 5985 วัฒนธรรมโมเหนโจดาโรและฮารัปปาเจริญขึ้นแถบลุ่มแม่น้ำสินธุ และเป็น วัฒนธรรมที่เจริญขึ้นในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อระหว่างสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ ของอินเดีย เพราะพบหลักฐานทางโบราณคดีทั้งสองสมัย โดยโบราณวัตถุสำคัญในสมัย ก่อนประวัติศาสตร์ที่พบ คือ ตราประทับที่ทำจากหินสบู่ในแคว้นปัญจาบและสินธุ

13.       โบราณวัตถุที่สำคัญที่โมเหนโจดาโร

(1)       เครื่องมือหิน     

(2) หม้อดินเผา

(3) ตราประทับทำจากหินสบู่   

(4) ซากพระราวังโบราณ

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 12. ประกอบ

14.       ข้อใดที่เกี่ยวกับอารยธรรมฮินดูยุคกลาง

(1) ลุ่มแม่น้ำสินธุ         (2) พวกอารยัน            (3) นิยมบูชาวีรบุรุษ     (4) มุสลิม

ตอบ 3 (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 44) อารยธรรมฮินดูยุคกลาง ถือเป็นยุคที่ชนชั้นนักรบ มีอำนาจมาก นิยมบูชาวีรบุรุษ และเป็นยุคที่ศาสนาพราหมณ์ได้เปลี่ยนมาเป็นศาสนาฮินดู ซึ่งแบ่งแยกออกเป็นหลายลัทธิ คือ ลัทธิไศวนิกาย นับถือพระศิวะหรือพระอิศวรเป็นใหญ่,ลัทธิวิษณุนิกาย นับถือพระวิษณุหรือพระนารายณ์เป็นใหญ่ และลัทธิศักติ นับถือพระมเหสี ของเทพต่าง ๆ เช่น พระศรีมหาอุมาเทวีหรือนางทุรคา (ผู้เข้าถึงได้โดยยาก) ฯลฯ

15.       ศิลปกรรมของอินเดียเกี่ยวข้องกับสิ่งใด

(1) ชีวิตความเป็นอยู่   (2) ศาสนา       (3) วัฒนธรรม  (4) ประเพณี

ตอบ 2 หน้า 83 – 84 ศาสนาเป็นแรงบันดาลใจอย่างมากต่อการสร้างสรรค์งานศิลปะของอินเดีย เพราะปรากฏว่าศิลปกรรมของอินเดียทำขึ้นเพื่อรับใช้ศาสนาทั้งสิ้น เช่น ศิลปกรรมทางศาสนา ในพุทธศตวรรษที่ 4-14 นิยมแสดงออกมาเป็นภาพสลักนูนสูงและนูนตํ่าขนาดยาว หรือ เขียนภาพเล่าเรื่องบนผนังขนาดใหญ่

16.       ศิลปะใดที่เข้ามามีอิทธิพลต่อศิลปะอินเดียถึง 2 ครั้ง

(1) ศิลปะเมโสโปเตเมีย          (2) ศิลปะอิหร่าน         (3) ศิลปะกรีก  (4) ศิลปะโรมัน

ตอบ 2 (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 46) ศิลปะอิหร่านได้เข้ามามีอิทธิพลต่อศิลปะอินเดียถึง 2 ครั้ง คือ เมื่อได้เข้ามาครอบครองดินแดนแถบลุ่มแม่นํ้าสินธุตั้งแต่ประมาณพุทธกาลถึง พ.ศ. 250 และต่อมาในพุทธศตวรรษที่ 17 อิหร่านก็มีอำนาจเหนืออินเดียอีกครั้ง จึงทำให้อิทธิพลของ ศิลปะอิหร่านปรากฏในศิลปะอินเดียเป็นอย่างมาก

17.       ศิลปะอินเดียเสื่อมลงเพราะเหตุใด

(1) ภูมิประเทศมีทิวเขามากเกินไป      (2) สังคมอินเดียมีกฎเกณฑ์และข้อบังคับมากเกินไป

(3) อิทธิพลของศิลปะต่างชาติมากเกินไป       (4) ชาวอินเดียไม่เชี่ยวชาญงานศิลปะ

ตอบ 2 หน้า 83 – 84109 การที่สังคมอินเดียมีกฎเกณฑ์และข้อบังคับมากเกินไป ทำให้ช่างอินเดีย ไม่สามารถใช้ความคิดของตนเองในการสร้างสรรค์งานศิลปะได้อีก เพราะช่างต้องการเพียงงานศิลปะที่ตรงตามกฎเกณฑ์และข้อบังคับอันเกิดจากความเชื่อเท่านั้น จึงเป็นผลให้ศิลปะ อินเดียเสื่อมลงในที่สุด เช่น การเสื่อมลงของศิลปะคุปตะ ซึ่งเป็นศิลปะยุคทองของอินเดีย

18.       ศาสนสถานในศิลปะคุปตะ

(1) ได้รับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ์            (2) นิยมทำหลังคาเป็นชั้น ๆ

(3) นิยมสลักลึกเข้าไปในภูเขา            (4) นิยมสร้างสถูปเป็นพื้น

ตอบ 1 หน้า 102 สถาปัตยกรรมในสมัยคุปตะจะนิยมสร้างไว้กลางแจ้ง โดยในสมัยพระเจ้าจันทรคุปต์ ที่ 2พุทธศาสนสถานในศิลปะคุปตะที่สร้างขึ้น เช่น โบสถ์วิหาร สถูป ฯลฯ มักจะเลียนแบบ และได้รับอิทธิพลจากเทวาลัยของศาสนาพราหมณ์ ซึ่งลักษณะทางสถาปัตยกรรมเช่นนี้ได้ให้ อิทธิพลต่อการสร้างเจดีย์ของพม่า (Pagoda) และบุโรพุทโธของอินโดนีเซียด้วย

19.       ลักษณะพิเศษของศิลปะปาละ-เสนะ คือประติมากรรม

(1) หนักทึบ ไม่มีความงามแต่อย่างใด (2) มักมีแผ่นหลังประกอบ

(3) ตั้งอยู่บนฐานที่สูงขึ้น         (4) มีรูปอวบอ้วน

ตอบ 2 หน้า 105 ลักษณะพิเศษของศิลปะปาละ-เสนะ คือ ประติมากรรมมักมีแผ่นหลังประกอบ ซึ่งมีลวดลายประดับอยู่มากมายติดอยู่กับพระพุทธรูป โดยพระพุทธรูปส่วนใหญ่ในสมัยนี้ มักเป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องที่หล่อด้วยสำริดและสร้างด้วยศิลา แต่ไม่มีความสวยงามเลย

20.       สถาปัตยกรรมในยุคแรกเริ่มของอินเดีย

(1) มีความเรียบง่ายมากที่สุด

(2) มักเจาะลึกเข้าไปในภูเขา

(3) มักสร้างด้วยดินเหนียวและไม้

(4) มักพบตามถํ้า

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 8. ประกอบ

21.       เมื่อประติมากรรมและภาพเขียนในศิลปะคุปตะเสื่อมลงแล้ว

(1) นิยมเพิ่มรายละเอียดและเครื่องประดับมากขึ้น    

(2) นิยมใช้สีสันสดและหลายสีมากยิ่งขึ้น

(3) นิยมทำภาพเคลื่อนไหวมากยิ่งขึ้น  

(4) นิยมเพิ่มตัวบุคคลในภาพมากขึ้น

ตอบ 1 หน้า 101 – 103 พระพุทธรูปสมัยคุปตะ ซึ่งเป็นพระพุทธรูปยุคทองของอินเดียเริ่มเสื่อมลง เมื่อหมดสมัยของพระเจ้ากุมารคุปต์ในพุทธศตวรรษที่ 12 และหลังจากนี้เป็นต้นไปประติมากรรม ต่าง ๆ จะมีร่างกายหนักทึบและเพิ่มลวดลายมากขึ้น ส่วนภาพเขียนที่เป็นภาพบุคคลนั้นก็จะเพิ่มรายละเอียดและเครื่องประดับ ทำให้ภาพบุคคลเดี่ยวๆ ดูแข็งกระด้างไม่มีชีวิตจิตใจอีกต่อไป

22.       มหาวิทยาลัยนาลันทาในอินเดีย เป็นมหาวิทยาลัยแห่ง

(1) พุทธศาสนา           

(2) ศาสนาพราหมณ์    

(3) ศาสนาอิสลาม       

(4) ศาสนาเชน

ตอ     1 หน้า 213152 (S) มหาวิทยาลัยนาลันทาในอินเดีย เป็นงานสถาปัตยกรรมในสมัยศิลปะปาละ-เสนะ ซึ่งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ถือเป็นมหาวิทยาลัยแห่งพุทธศาสนา โดยเป็นศูนย์กลางใหญ่ ของพุทธศาสนาลัทธิตันตระ อยู่ในแคว้นเบงกอล

23.       ศาสนาพุทธเจริญขึ้นในแคว้นใดของอินเดีย

(1) แคว้นปัญจาบ        

(2) แคว้นอัสสัม           

(3) แคว้นมคธ  

(4) แคว้นสินธุ

ตอบ 3 หน้า 90 พระพุทธศาสนาเจริญขึ้นในอินเดียที่แคว้นมคธหรือมคธราฐในสมัยพระเจ้าพิมพิสาร และเจริญขึ้นถึงขีดสุดในสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราชราวพุทธศตวรรษที่ 3 ดังนั้นในยุคแรกเริ่ม ของการทำศิลปกรรมอินเดียนี้ พุทธศาสนาจึงมีบทบาทเป็นอย่างมาก

24.       พุทธศิลปะในยุคแรกเริ่มของอินเดีย

(1) มักเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงพุทธประวัติ  (2) มักเป็นพระพุทธรูปประทับนั่งสมาธิ

(3) มักเป็นพระพุทธเจดีย์        (4) มักเป็นศาสนสถาน

ตอบ 4 หน้า 91 พุทธศิลปะในยุคแรกเริ่มของอินเดียที่เหลือร่องรอยไว้ให้ชนรุ่นหลังได้เห็นเก่าสุด คือ ศิลปกรรมในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช พุทธศตวรรษที่ 3 ที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะกรีกและ อิหร่าน (เปอร์เซีย) เช่น มักสร้างเป็นศาสนสถานที่เจาะลึกเข้าไปในภูเขา โดยมีลักษณะเป็นถํ้า ซึ่งมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ เป็นถํ้าวิหาร และถํ้าเจดีย์สถาน

25.       พระพุทธรูปคันธารราฐเกี่ยวข้องกับข้อใด

(1) มีความสวยงามตามธรรมชาติ       (2) มีความสวยงามตามแบบศิลปะกรีก

(3) มีความสวยงามตามแบบศิลปะอินเดีย      (4) มีความสวยงามที่เรียบง่ายมาก

ตอบ 2 หน้า 93 – 94 พระพุทธรูปสมัยคันธารราฐของอินเดียจะมีความสวยงามตามแบบศิลปะกรีก อย่างชัดเจน ซึ่งจะเห็นได้จากพระพักตร์ พระเกศา และการครองจีวรที่แทบจะไม่มีลักษณะ ของอินเดียเหลืออยู่เลย คือ มีการครองจีวรห่มคลุมพระอังสา (บ่าหรือไหล่) ทั้ง 2 ข้าง โดยมี จีวรแนบกันมากับพระองคั และมีริ้วนูนหนาเป็นวงโค้งซ้อนกันทางด้านหน้า

26.       ช่างโบราณไม่กล้าแสดงรูปพระพุทธรูปเพราะ

(1) ยึดมั่นในพระศาสนามากเกินไป    (2) ช่างไม่มีความชำนาญ

(3) เกรงกลัวต่อบาป    (4) ปฏิบัติตามบรรพบุรุษ

ตอบ 1 หน้า 83 – 849243 (S) ในยุคที่เริ่มสร้างรูปเพื่อรำลึกถึงพุทธธรรม ช่างอินเดียโบราณที่ ยึดมั่นในพระศาสนามากเกินไปจะไม่กล้าแสดงรูปพระพุทธรูปแต่จะเว้นเหลือไว้แต่พระแท่นว่าง นอกจากนี้ในการสลักภาพนูนสูงก็จะทำเป็นสัญลักษณ์แทนองค์พระพุทธเจ้าเท่านั้น เพื่อแสดง ให้เห็นว่าพระพุทธองค์นั้นหมดแล้วซึ่งความเห็นแก่ตัว ไม่ได้ยึดในตนอีกต่อไปหรือคล้ายกับ ปราศจากตัวตน

27.       พระพุทธรูปคันธารราฐมีการครองจีวรแบบใด

(1) ห่มคลุมพระอังสาทั้งสองข้าง จีวรเป็นริ้ว    (2) ห่มเปิดพระอังสาขวา

(3) ห่มคลุมพระอังสาทั้งสองข้าง จีวรเรียบ      (4) ห่มเปิดพระอังสาซ้าย

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 25. ประกอบ

28.       พระพุทธรูปยกชายจีวรขึ้นระหว่างพระโสณี

(1) พระพุทธรูปคันธารราฐ       (2) พระพุทธรูปมถุรา

(3) พระพุทธรูปอมราวดี           (4) พระพุทธรูปคุปตะ

ตอบ 2 หน้า 95, (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 55) การครองจีวรของพระพุทธรูปมถุรา จะเป็นแบบใหม่ คือ ครองเฉพาะจีวรและสบงโดยไม่ปรากฎว่ามีสังฆาฏิ และมักห่มเฉียง เปิดพระอังสาซ้าย พระหัตถ์ซ้ายมักยกชายจีวรขึ้นระหว่างพระโสณี (ตะโพก)

29.       พระพุทธรูปอินเดียเริ่มเป็นแบบอย่างของศิลปะอินเดียอย่างแท้จริงในสมัยใด

(1) สมัยคันธารราฐ      (2) สมัยมถุรา  (3) สมัยคุปตะ (4) สมัยอมราวดี

ตอบ 2 หน้า 959799 พระพุทธรูปอินเดียเริ่มเป็นแบบอย่างของศิลปะอินเดียอย่างแท้จริง ในสมัยมถุรา (พุทธศตวรรษที่ 7-8) แต่ความเป็นอินเดียอย่างแท้จริงและลักษณะของ มหาบุรุษปรากฏขึ้นอย่างครบครันในพระพุทธรูปสมัยอมราวดี (พุทธศตวรรษที่ 7-9)ซึ่งถือได้ว่ามีความงามตามแบบอินเดียโดยแท้ เพราะไม่เห็นลักษณะของอิทธิพลต่างชาติเลย

30.       พระพุทธรูปสมัยคุปตะของอินเดีย

(1)       มีความงามอย่างเรียบง่าย แต่รูปประติมากรรมหนักทึบ

(2)       มักนิยมห่มคลุมพระอังสาสองข้าง จีวรเป็นริ้ว เป็นพระพุทธรูปกรีก

(3)       ขมวดพระเกศาวนขวา นิยมห่มเฉียงเปิดพระอังสาซ้าย จีวรเป็นริ้ว

(4)       นิยมแสดงให้เห็นว่าพระพุทธองค์ทรงเป็นทั้งพระมหากษัตริย์และเทวดา

ตอบ 4 หน้า 101 พระพุทธรูปสมัยคุปตะของอินเดียจะไม่นิยมแสดงให้เห็นว่าพระพุทธรูปเป็นมนุษย์อย่างแท้จริง แต่เป็นทั้งพระมหากษัตริย์และเทวดา หรืออาจจะกล่าวได้ว่าเป็นกึ่งมนุษย์กึ่งเทวดาก็ได้ ดังเช่นที่ช่างคุปตะไม่ได้แสดงให้เห็นมุกขลึงค์อันเป็นลักษณะที่แสดงให้รู้ถึงเพศเลย

31.       พระพุทธรูปยุคทองของอินเดียเริ่มเสื่อมลง

(1) หลังพุทธศตวรรษที่ 12       

(2) หลังพุทธศตวรรษที่ 13

(3) หลังพุทธศตวรรษที่ 14       

(4) หลังพุทธศตวรรษที่ 15

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 21. ประกอบ

32.       พระพุทธรูปอินเดียเริ่มเป็นแบบอย่างของศิลปะอินเดียอย่างแท้จริงในสมัยใด

(1) สมัยคันธารราฐ      

(2) สมัยมถุรา  

(3) สมัยคุปตะ 

(4) สมัยอมราวดี

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 29. ประกอบ

33.       ยุคทองของพระพุทธรูปไทยคือสมัยใด

(1) สมัยทวารวดี          

(2) สมัยศรีวิชัย            

(3) สมัยลพบุรี 

(4) สมัยสุโขทัย

ตอบ 4 หน้า 143 – 144 ศิลปะสมัยสุโขทัย ถือเป็นศิลปะยุคทองของศิลปกรรมไทย โดยเฉพาะ ประติมากรรมพระพุทธรูปไทยในสมัยนี้มีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะแบบ มีความสวยงามสง่า ที่สุด และมีความเรียบง่ายตามอุดมคติผิดไปจากศิลปกรรมสมัยอื่น ๆ

34.       เพราะเหตุใดงานศิลปกรรมพุทธศาสนาในสมัยโบราณ ช่างฝีมือจึงเว้นที่ว่างไว้ไม่วาดหรือปั้น

(1) ไม่กล้าแสดงออกด้วยรูปทรง         (2) ขาดประสบการณ์

(3) ไม่ได้ยึดในตนอีกต่อไป      (4) เกรงกลัวบาป

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 26. ประกอบ

35.       พระพุทธรูปนาคปรก เริ่มทำในสมัยใด

(1) สมัยมถุรา  (2) สมัยอมราวดี          (3) สมัยคุปตะ (4) สมัยปาละ-เสนะ

ตอบ 2 หน้า 121 พระพุทธรูปนาคปรกในอินเดียมีกำเนิดครั้งแรกในศิลปะอมราวดี และทำแต่เฉพาะ ในศิลปะอมราวดีเท่านั้น หลังจากนั้นจึงได้ส่งผลต่อไปยังศิลปะลังกาแบบอนุราชปุระ นอกจากนี้ ยังให้อิทธิพลต่อศิลปะคุปตะและหลังคุปตะของอินเดียอีกด้วย

36.       พระพุทธรูปขัดสมาธิเพชร คือ

(1)       พระพุทธรูปที่นั่งในท่าขัดสมาธิ เห็นฝ่าพระบาททั้งสองข้าง

(2)       พระพุทธรูปที่นั่งในท่าขัดสมาธิ เห็นฝ่าพระบาทข้างเดียว

(3)       พระพุทธรูปนั่งห้อยพระบาท   (4) ถูกทั้งข้อ 1 และ 2

ตอบ 1 หน้า 139 – 140 พระพุทธรูปขัดสมาธิเพชร คือ พระพุทธรูปประทับนั่งในท่าขัดสมาธิ แลเห็นฝ่าพระบาททั้งสองข้าง ส่วนพระพุทธรูปขัดสมาธิราบ คือ พระพุทธรูปประทับนั่งในท่าขัดสมาธิ แลเห็นฝ่าพระบาทเพียงข้างเดียว พระหัตถ์ประสานกันบนพระเพลา

37.       พระพุทธรูปที่ปรากฏครั้งแรกของไทยได้รับอิทธิพลจากศาสนาใด

(1) ศาสนาพราหมณ์    (2) ศาสนาพุทธหินยาน (3) ศาสนาพุทธมหายาน (4) ศาสนาฮินดู

ตอบ 2 หน้า 122 พระพุทธรูปที่ปรากฏครั้งแรกของประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากศาสนาพุทธหินยาน อย่างเถรวาท และอิทธิพลของศิลปะอมราวดี โดยพุทธศาสนาเถรวาทที่อยูในความนับถือของ คนสมัยนั้นคงเป็นนิกายมูลสรรวาสติวาท ซึ่งใช้ภาษาสันสกฤตเป็นหลัก

38.       พระพุทธรูปทวารวดียุคแรกได้รับอิทธิพลของศิลปะใด

(1) ศิลปะอมราวดี คุปตะ หลังคุปตะ  (2) ศิลปะขอมแบบปาปวน

(3) ศิลปะพื้นเมือง       (4) ศิลปะอิสลาม

ตอบ 1 หน้า 123 – 124 พระพุทธรูปทวารวดีแบ่งเป็น 3 รุ่นดังนี้

1.         รุ่นที่ 1 หรือยุคแรก แสดงอิทธิพลของศิลปะอมราวดี คุปตะและหลังคุปตะ มีอายุราว พุทธศตวรรษที่ 12

2.         รุ่นที่ 2 แสดงอิทธิพลของศิลปะพื้นเมืองมากยิ่งขึ้น มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 13 – 15

3.         รุ่นที่ 3 แสดงอิทธิพลของศิลปะขอมแบบปาปวนหรือศิลปะลพบุรีตอนต้น มีอายุราว พุทธศตวรรษที่ 15 ลงมา

39.       จิตรกรรมตามผนังถํ้าของไทยเก่าสุดอยู่ในสมัยใด

(1) สมัยหินเก่า            (2) สมัยหินกลาง         (3) สมัยหินใหม่           (4) สมัยโลหะ

ตอบ 1 หน้า 71108 (S), (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 39) จิตรกรรมตามผนังถํ้าของไทย ที่เก่าที่สุดอยู่ในสมัยหินเก่า ซึ่งมีการพบหลักฐานทั้งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และ ภาคกลาง เช่น มีการพบการสลักเพิงผาที่เก่าที่สุดที่ถํ้ามิ้ม จ.อุดรธานี หรือมีการพบรูปมือคน ที่ถํ้าฝ่ามือ จ.ขอนแก่น เป็นต้น

40.       ถํ้าฝ่ามืออยู่ในจังหวัดใด

(1) ขอนแก่น

(2) เชียงราย

(3) กาญจนบุรี

(4) อุดรธานี

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 39. ประกอบ

41.       บ้านเชียงเป็นสถานที่รู้จักกันทั่วไปเพราะ      

(1) เป็นแหล่งมีความเจริญ มีทิวทัศน์สวยงามที่สุด

(2)       เป็นแหล่งที่มีโบราณวัตถุสมัยก่อนประวัติศาสตร์มากที่สุด

(3)       เป็นแหล่งที่มีผู้ก่อการร้ายมากที่สุด   

(4) เป็นแหล่งที่พบเครื่องมือหินมากที่สุด

ตอบ 2 หน้า 112 (S) ศิลปะบ้านเชียง อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ถือเป็นศูนย์กลางของแหล่งกำเนิดอารยธรรมของมนุษย์ที่มีโบราณวัตถุสมัยก่อนประวัติศาสตร์มากที่สุด โดยจากหลักฐานทางโบราณวัตถุที่ค้นพบมีอายุถึง 6,000 – 5,000 ปี ดังนั้นจึงนับได้ว่า บ้านเชียงเคยเป็นแหล่งกำเนิดอารยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดในโลกแห่งหนึ่ง

42.       วัฒนธรรมของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์แสดงออกมาในรูปใด

(1) ภาษา         

(2) อักษร         

(3) ศิลปกรรม  

(4) เพลงร้อง

ตอบ 3 หน้า 47 วัฒนธรรมของมนุษย์ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ มักแสดงออกมาในรูปของศิลปกรรม นับตั้งแต่เครื่องใช้ไม้สอย เครื่องปั้นดินเผา และเครื่องประดับต่าง ๆ ล้วนเป็นสิ่งที่บ่งบอกให้รู้ ถึงความเจริญรุ่งเรืองของสังคม ชีวิตความเป็นอยู่ และเทคโนโลยีในสมัยนั้น ๆ ได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้เพราะมนุษย์ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ยังไม่มีตัวอักษรสำหรับการจดบันทึก

43.       หัวเสาแบบโครินเธียน เป็นอิทธิพลของศิลปะใด

(1) กรีก            

(2) อียิปต์        

(3) เปอร์เซีย    

(4) เมโสโปเตเมีย

ตอบ 1 หน้า 94 – 95121 – 122 (S) สถาปัตยกรรมในศิลปะคันธารราฐของอินเดียจะได้รับอิทธิพล จากศิลปะกรีก เช่น การนิยมทำหัวเสาแบบโครินเธียน (Corinthian) ซึ่งมักจะประดับลวดลาย ด้วยเครื่องประดับต่าง ๆ บนหัวเสา เช่น ลายใบอาคันธัส ลายใบปาล์ม ลายพวงองุ่น และ ลายกามเทพแบกพวงมาลัย ฯลฯ

44.       สมัยหินลาง หมายถึง

(1) ยุคสมัยหนึ่งของสมัยก่อนประวัติศาสตร์   (2) สมัยกลางของสมัยก่อนประวัติศาสตร์

(3) สมัยที่คนสมัยหินรู้จักใช้หินเป็นอาวุธ        (4) สมัยที่คนสมัยหินรู้จักใช้เหล็กเป็นอาวุธ

ตอบ 1 หน้า 49 – 5663 – 6875 ยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์ทั้งของยุโรปและของไทย แบ่งออกเป็น 4 ยุค คือ 1. ยุคสมัยหินเก่า 2. ยุคสมัยหินกลาง 3. ยุคสมัยหินใหม่ 4. ยุคสมัยโลหะ

45.       ประติมากรรมของคนสมัยหินนั้นมักแสดงออกถึงสิ่งใด

(1) ความต้องการให้ฝนฟ้าตกตามฤดูกาล      (2) ความมีบุตรหลานมากมาย

(3) ความมั่งมีศรีสุข     (4) ความอุดมสมบูรณ์

ตอบ 4 หน้า 51 ประติมากรรมที่ทำขึ้นครั้งแรกของคนสมัยหินหรือสมัยก่อนประวัติศาสตร์จะนิยมทำเป็นรูปผู้หญิงไม่มีหน้าตา แต่มีรูปร่างอ้วน แสดงว่าประติมากรรมที่ทำขึ้นมานี้ มีความเกี่ยวข้องกับความอุดมสมบูรณ์ และแสดงออกถึงการนับถือเพศแม่อย่างชัดเจน เช่น พบประติมากรรมลอยตัวที่ประเทศเยอรมนี คือ วีนัส วีเลนดอร์ฟ (Venus of Willendorf)

ซึ่งเป็นเทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์

46.       ภาพเขียนที่ผนังถํ้า เขียนขึ้นเพื่อสิ่งใด

(1) เพื่อเป็นสิ่งเตือนใจที่ตนเคยพบเห็นมาก่อน           (2) เพื่อใช้สอนชนรุ่นหลัง

(3) เพื่อแสดงออกถึงแรงบันดาลใจจากความงามนั้น ๆ (4) ถูกทั้ง 3 ข้อ

ตอบ 4 (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 39) ภาพเขียนที่ผนังถํ้าหรือศิลปกรรมในถํ้าส่วนใหญ่ได้รับ แรงบันดาลใจจากสัตว์ชนิดต่าง ๆ ในการสร้างสรรค์งานศิลปะ ซึ่งนอกจากจะเขียนขึ้นเพื่อเป็น สิ่งเตือนใจตนแล้ว ก็ยังเขียนขึ้นเพื่อสั่งสอนชนรุ่นหลังให้รู้จักวิธีล่าสัตว์ที่ถูกต้องอีกด้วย

47.       ศิลปกรรมรุ่นแรกสุดของคนก่อนประวัติศาสตร์

(1) รูปคน         (2) รูปสัตว์       (3) รูปฝ่ามือ     (4) รูปป่าเขา

ตอบ 3 (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 39 – 40) รูปฝ่ามือหรือภาพมือคน เป็นศิลปกรรมรุ่นแรกสุด ของคนก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งพบในผนังถํ้าทั้งในยุโรปและเอเชีย โดยมีเทคนิคในการทำ คือ การใช้สีทาบนฝ่ามือแล้วทาบฝ่ามือลงไปบนผนังถํ้า หรือการใช้ฝ่ามือทาบลงบนผนังถํ้าแล้ว ใช้สีพ่นรอบ ๆ ฝ่ามือ เป็นต้น

48.       ลักษณะพิเศษของภาพเขียนก่อนประวัติศาสตร์

(1) มักนิยมเน้นสิ่งที่มีความหมายต่อพวกเขา  (2) มักนิยมเขียนด้วยสีดำ

(3) มักนิยมเขียนตัดเส้นด้วยสีดำ        (4) มักนิยมเขียนด้วยสีหลาย ๆ สี

ตอบ 1 หน้า 73 ลักษณะพิเศษของภาพเขียนก่อนประวัติศาสตร์ คือ ศิลปินมักนิยมเน้นในสิ่งที่ มีความหมายและมีความสำคัญต่อพวกเขา โดยการเขียนรูปนั้น ๆ ให้มีขนาดใหญ่กว่าปกติ เช่น รูปสัตว์ขนาดใหญ่หรือรูปคนขนาดใหญ่ท่ามกลางรูปคนและสัตว์ที่มีขนาดเล็ก เป็นต้น

49.       แบบอย่างของศิลปะและวัฒนธรรมของประเทศในแถบเอเชียอาคเนย์เป็นไปตามแบบอย่างประเทศใด

(1) เขมร           (2) อินเดีย       (3) จีน  (4) มาเลเซีย

ตอบ 2 หน้า 81 ศิลปะอินเดีย ถือเป็นแม่บทและเป็นผู้วงรากฐานทางวัฒนธรรมให้แก่ประเทศต่าง ๆ ในแถบเอเชียอาคเนย์ เพราะไม่ว่าจะเป็นคติทางศาสนา การแสดงออกทางขนบธรรมเนียมประเพณี รูปแบบทางศิลปะ และการจัดการปกครองในยุคแรกเริ่ม ก็เป็นไปตามแบบอย่างอินเดียทั้งสิ้น

50.       มวลชนได้สัมผัสสุนทรียภาพในศิลปะเป็นครั้งแรกเมื่อ

(1) มนุษย์ได้กำเนิดขึ้น

(2) สมัยก่อนประวัติศาสตร์

(3) สมัยอาณาจักรโรมัน

(4) สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการในยุโรป

ตอบ 1 หน้า 1 (S) สุนทรียภาพในศิลปะ หรือความรู้สึกทางด้านความงาม นับเป็นธรรมชาติที่เกิดมา กับมนุษย์ทุกรูปทุกนาม ซึ่งจะมีระดับความแตกต่างกันในด้านการแสดงออกเท่านั้น จึงเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าจุดเริ่มต้นของศิลปะได้กำเนิดขึ้นมาพร้อมกับการกำเนิดขึ้นของมนุษย์

51.       สุนทรียรสในวิชาศิลปะวิจักษณ์ ให้ความรู้สึกซาบซึ้งในเรื่องใด

(1) ความรัก     

(2) ความงาม   

(3) ความสวย  

(4) ความบันเทิง

ตอบ 2 หน้า 3 (S)12 – 13 (S) สุนทรียรสหรือรสของศิลปะจะก่อให้เกิดความรู้สึกซาบซึ้งในสุนทรียภาพ หรือความงามของศิลปะ ซึ่งนับเป็นความเข้าใจที่สำคัญยิ่งของมนุษย์ต่อสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว โดยมีสิ่งสำคัญ 2 ประการ คือ 1. ความซาบซึ้งทางอารมณ์ 2. ความซาบซึ้งทางพุทธิปัญญา

52.       ลักษณะพิเศษของศิลปะบริสุทธิ์

(1) ให้ความชื่นชมยินดีทางด้านจิตใจ  

(2) ให้ความเพลิดเพลินสนุกสนาน

(3) ให้ความรู้สึกเหมือนจริงทุกประการ           

(4) ให้ความรู้สึกไม่เหมือนจริง

ตอบ 1 หน้า 87 (S) ศิลปะบริสุทธิ์ (Fine Art or Pure Art) เป็นงานศิลปะที่คำนึงถึงประโยชน์ ทางจิตใจ คือ ช่วยให้มีความสุขสบายใจ ทำให้เกิดความประทับใจที่ดื่มด่ำ มีความศักดิ์สิทธิ์ ในทางจิต เกิดอารมณ์สะเทือนใจไม่เสื่อมคลายและไม่สูญหายไปจากความทรงจำ ดังนั้นจึงจัดเป็นงานศิลปะอมตะหรือเรียกว่า วิจิตรศิลป” ซึ่งเป็นศิลปะชั้นสูง ได้แก่ งานจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์

53.       สิ่งบันดาลใจให้ศิลปินสร้างสรรค์งานศิลปะ

(1) ความสันโดษ          

(2) ความเชื่อในเรื่องวิญญาณ

(3) ความสะเทือนอารมณ์        

(4) ความกตัญณูต่อธรรมาติ

ตอบ 3 หน้า 10 ถึงแม้ว่าธรรมชาติจะเป็นแรงบันดาลใจอันเร้นลับที่ผลักดันให้ศิลปินสร้างสรรค์งานศิลปะ ออกมาใบรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง สุดแล้วแต่ประสบการณ์และอารมณ์สะเทือนใจของศิลปินผู้นั้น แต่หากปราศจากอำนาจแห่งความรู้สึกสะเทือนอารมณ์ อันก่อให้เกิดมโนภาพหรือจินตนาการ ขึ้นในจิตใจด้วยแล้ว งานศิลปะก็มิอาจสร้างสรรค์ขึ้นมาได้

54.       ศิลปินสร้างสรรค์งานศิลปะจาก

(1) ธรรมชาติ   (2) คิดขึ้นเอง   (3) เลียนแบบจากงานอื่น        (4) เสียงเพลง

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 53. ประกอบ

55.       มนุษย์ สัตว์ จัดเป็นรูปลักษณะของศิลปะแบบใด

(1) อิสระ          (2) ที่กำหนดแล้ว         (3) เรขาคณิต  (4) ธรรมชาติ

ตอบ 4 หน้า 11 รูปลักษณะของงานศิลปะแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ           1. แบบธรรมชาติเป็นรูปลักษณะที่ตายตัวไม่เปลี่ยนแปลง เช่น ภูเขา ต้นไม้ ใบไม้ ดอกไม้มนุษย์ สัตว์ ฯลฯ

2.         แบบเรขาคณิต เป็นรูปลักษณะที่ได้แบบอย่างจากธรรมชาติมาบ้าง เช่น เส้นตรง เส้นโค้ง ฯลฯ

3.         แบบอิสระ เป็นรูปลักษณะที่ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว และเปลี่ยนแปลงไปตามความนิยมหรือ ความเห็นชอบของผู้ประดิษฐ์

56.       ศิลปะในข้อใดเป็นผลงานสูงสุดของมนุษย์

(1) ศาสนศิลปะ           (2) ศิลปะพื้นบ้าน        (3) ศิลปะถํ้า    (4) ศิลปะบนหน้าผา

ตอบ 1 หน้า 2004 (S)12 (S) ศาสนศิลปะ (Religious Art) หรืองานศิลปกรรมในลัทธิความเชื่อถือ และศาสนา ถือเป็นผลงานสร้างสรรค์ที่สูงสุดและเหนือกว่างานสร้างสรรค์ด้านอื่น ๆ เพราะเป็น งานศิลปะที่เกิดจากความซาบซึ้งทางพุทธิปัญญาที่มีคุณค่าเหนือกว่าศิลปะทั้งหลายที่มนุษย์ ได้สร้างขึ้น เช่น ประติมากรรมพระพุทธรูปในศิลปะสุโขทัย ภาพเขียนพุทธประวัติ โบสถ์ วิหาร หรือศาสนสถานที่สร้างขึ้นเพื่อการบูชาต่าง ๆ เป็นต้น

57.       ศิลปะของไทยยุคแรกเริ่ม คือศิลปะสมัยใด

(1) ศิลปะสมัยทวารวดี            (2) ศิลปะสมัยศรีวิชัย

(3) ศิลปะสมัยลพบุรี   (4) ศิลปะสมัยเชียงแสน

ตอบ 1 หน้า 116 สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงแบ่งยุคสมัยของศิลปะในประเทศไทยไว้ รวม 7 สมัย ตั้งแต่ยุคแรกเริ่มไปจนถึงยุคสุดท้ายไว้ดังนี้ 1. สมัยทวารวดี 2. สมัยศรีวิชัย 3. สมัยลพบุรี 4. สมัยเชียงแสน 5. สมัยสุโขทัย 6. สมัยอยุธยา 7. สมัยรัตนโกสินทร์

58.       ศิลปะยุคสุดท้ายของไทย คือศิลปะสมัยใด

(1) ศิลปะสมัยทวารวดี            (2) ศิลปะสมัยสุโขทัย

(3) ศิลปะสมัยอยุธยา (4) ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 57. ประกอบ

59.       ภาพเขียนของจีนเจริญสูงสุดในสมัยใด

(1) สมัยราชวงศ์ฮั่น      (2) สมัยราชวงศ์ถัง      (3) สมัยราชวงศ์ซ่ง      (4) สมัยราชวงศ์หมิง

ตอบ 2 หน้า 39220 ภาพเขียนของจีนเจริญสูงสุดในสมัยราชวงศ์ถัง ซึ่งถือเป็นยุคทองของศิลปะจีน ส่วนภาพเขียนในสมัยราชวงศ์ซ่งหรือซ้องนั้น ศิลปินจีนนิยมเขียนภาพภูมิประเทศหรือภาพทิวทัศน์ อันสวยงาม เช่น ภาพภูเขา ต้นไม้ ฯลฯ ผลุบโผล่อยู่ในสายหมอก

60.       ศิลปะจีนในสมัยราชวงศ์ซ่งนิยมเขียนภาพประเภทใด

(1) ภาพสงคราม

(2) ภาพเหมือน

(3) ภาพนก ดอกไม้

(4) ภาพทิวทัศน์

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 59. ประกอบ

61.       ศิลปะของอินเดียสมัยใดที่ไม่นิยมทำรูปเคารพ

(1) ศิลปะสมัยคุปตะ   

(2) ศิลปะสมัยหลังคุปตะ

(3) ศิลปะสมัยปาละ-เสนะ      

(4) ศิลปะสมัยอิสลาม

ตอบ4 หน้า 106 – 107 ศิลปะอิสลาม (พุทธศตวรรษที่ 18 – 23) จะไม่นิยมทำรูปเคารพแต่อย่างใด ดังนั้นจึงไม่ปรากฏว่ามีรูปเคารพที่เป็นประติมากรรมเลย แต่สิ่งที่เหลือให้ชื่นชมและมีความงามที่แปลกใหม่ คือ จิตรกรรมและสถาปัตยกรรม

62.       คุณค่าทางสุนทรียภาพทางศิลปะ คือ

(1)       เป็นการแสดงออกถึงภาพที่ให้ความรู้สึกสะเทือนใจมากที่สุด

(2)       เป็นภาพที่มีการจัดวางเส้น รูปร่าง มวล พื้นผิว และช่องว่างได้อย่างเหมาะสม

(3)       เป็นการแสดงออกถึงลีลา ฝีเแปรงที่แข็งกร้าวเด็ดเดี่ยว

(4)       เป็นการแสดงออกถึงสิ่งแปลกใหม่ในงานศิลปะ

ตอบ 2 หน้า 32030 คุณค่าทางสุนทรียภาพของศิลปะหรือคุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) คือ การจัดวางโครงสร้างของศิลปะให้มีองค์ประกอบของเส้น คุณค่า รูปร่าง มวล พื้นผิว และ ช่องว่างให้มีความสมดุล มีสัดส่วน มีช่วงจังหวะ มีความกลมกลืน มีความขัดแย้ง และมีจุดเด่น ในงานศิลปะได้อย่างเหมาะสม

63.       ลักษณะพิเศษของภาพจิตรกรรมไทย คือ

(1) สองมิติ       

(2) สามมิติ      

(3) ลายเส้น     

(4) สีน้ำ

ตอบ 1 หน้า 41221 – 222 ลักษณะพิเศษของภาพจิตรกรรมไทย คือ ภาพจิตรกรรมฝาผนังของไทย ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยสีและเส้นเท่านั้น ทำให้มีลักษณะเป็นรูปแบนเรียบ หรือเป็นภาพสองมิติ ที่ไม่มีความลึก ผิดกับภาพเขียนของศิลปะตะวันตก ซึ่งเป็นภาพสามมิติที่มีความลึก เพราะ ประกอบไปด้วยสี เส้น แสง และเงา

64.       ลักษณะของศิลปกรรมคิวบิสม์

(1) บริสุทธิ์ไร้เดียงสา   (2) นิยมสลักจากก้อนหิน

(3) รูปทรงบิดเบี้ยว      (4) เหมือนธรรมชาติ

ตอบ 3 หน้า 22138 – 39 (S)57 (S) ศิลปะนามธรรมหรือมโนศิลป์ (Abstract) คือ การถ่ายทอด ตามความรู้สึกด้วยใจ โดยการนำเอารูปทรงต่าง ๆ ที่พบเห็นในธรรมชาติมาจัดเสียใหม่ หรือ ปรุงแต่งดัดแปลงใหม่ ดังนั้นจึงอาจจะมีลักษณะกึ่งธรรมชาติ กึ่งนามธรรม และผิดเพี้ยนไปจาก ธรรมชาติอยู่บ้าง เช่น ศิลปะแบบคิวบิสม์ จัดเป็นศิลปะแบบกึ่งจินตนาการที่มีลักษณะเป็นเหลี่ยม เป็นมุม และรูปทรงบิดเบี้ยว แด่ก็ยังพอพิจารณาดูรูปลักษณะได้ว่าเป็นรูปอะไร

65.       ศิลปะเพื่อประโยชน์ใช้สอย เรียกอีกอย่างว่า

(1) ศิลปะประทับใจ    (2) ศิลปะบริสุทธิ์         (3) ศิลปะโรแมนดิก     (4) ศิลปะประยุกต์

ตอบ 4 หน้า 8 – 93 – 4 (s)127 (S) ศิลปะประยุกต์ (Applied Art) คือ ศิลปะที่ตั้งใจสร้างหรือ ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อประโยชน์ใช้สอย หรือเพื่อประโยชน์แก่ชีวิตประจำวันอย่างใดอย่างหนี่ง เช่น เครื่องประดับ (ต่างหู กำไลแขน เข็มกลัด) เครื่องจักร ผ้า เครื่องหนัง เครื่องเคลือบ รวมทั้งสะพานส่งนํ้า หรือเขื่อนกั้นนํ้าของศิลปะโรมัน ฯลฯ ซึ่งอาจจะแบ่งย่อยออกไปเรียกว่า พาณิชย์ศิลป์หรืออุตสาหกรรมศิลป์” แต่ถ้าหากประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อประดับตกแต่งในอาคาร สถานที่ก็จะเรียกว่า มัณฑนศิลป์” เช่น การออกแบบเครื่องเรือน โต๊ะ เก้าอี้ ฯลฯ

66.       ผลงานสูงสุดของมนุษย์คือข้อใด

(1) ศิลปะถํ้า    (2)       ศิลปะเพื่อชีวิต (3)       ศาสนศิลปะ     (4) ศิลปะบริสุทธิ์

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 56. ประกอบ

67.       ศิลปะอิสลามเจริญขึ้นในอินเดียระหว่างพุทธศตวรรษที่เท่าใด

(1) พุทธศตวรรษที่ 7-9            (2) พุทธศตวรรษที่ 9-11

(3) พุทธศตวรรษที่ 11-14        (4) พุทธศตวรรษที่ 18 – 23

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 61. ประกอบ

68.       การสร้างสรรค์ความงามของศิลปกรรมนานาชาติ มีลักษณะการแสดงออกด้วยสิ่งใด

(1) นํ้าหนัก      (2)       สีหลายสี          (3)       ความเหมือนกัน           (4) รสนิยมที่ต่างกัน

ตอบ 4 หน้า 5 (S) รสนิยมที่ดีในงานศิลปะ หมายถึง การรู้จักความสัมพันธ์ของโครงสร้างและ ส่วนประกอบขั้นมูลฐานที่สำคัญของงานศิลปะ โดยต้องพิจารณาถึงรูปลักษณะที่สวยงาม และประโยชน์ใช้สอยควบคู่กันไปด้วย ซึ่งรสนิยมในการสร้างสรรค์ศิลปกรรมของแต่ละชาติ จะแตกต่างกัน อันมีผลมาจากความแตกต่างของขนบธรรมเนียม เชื้อชาติ วัฒนธรรม และ ประสบการณ์ของแต่ละบุคคล

69.       ศิลปะกินระวางเนื้อที่ หมายถึงข้อใด

(1) จิตรกรรม ประติมากรรม    (2) ภาพพิมพ์ วาดเส้น

(3) สถาปัตยกรรม มัณฑนศิลป์           (4) ต่างหูลายดอกกุหลาบ

ตอบ 1 หน้า 840 ศิลปะกินระวางเนื้อที่ (Space Art) บางครั้งก็เรียกว่า ทัศนศิลป์” (Visual Art or Plastic Art) หมายถึง ศิลปะที่จำกัดระวางเนื้อที่ส่วนใดส่วนหนึ่งในอากาศด้วยปริมาตร ของศิลปะเหล่านั้น ซึ่งได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม เป็นต้น

70.       ศิลปกรรมที่ให้คุณค่าทางสุนทรียสัมผัสในความงาม

(1) ผ้าฝ้ายทอมือ จากบ้านไร่ไผ่งาม

(2) กำไลเงินลายเรขาคณิต จากชาวม้ง

(3) ภาพเหมือนชาวไทยภูเขา

(4) งานเครื่องเขิน จากเชียงใหม่

ตอบ 3 หน้า 4 (S)184 (S) ศิลปกรรมที่ให้คุณค่าทางสุนทรียสัมผัสในความงาม เป็นงานศิลปะที่สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อความพอใจและรื่นรมย์ทางใจของมนุษย์ ซึ่งเรียกว่า ประณิตศิลป์” (Fine Art) เช่น จิตรกรรมภาพวาดต่าง ๆ การจำหลักไม้ การเขียนลายรดนํ้า และการประดับมุก เป็นต้น

71.       ลักษณะพิเศษของศิลปะนามธรรม

(1) ทำเป็นรูปที่ผู้อื่นไม่เข้าใจ    

(2) สร้างความคิดขึ้นมาใหม่

(3) ปรุงแต่งดัดแปลงใหม่        

(4) เปลี่ยนแปลงจากเดิมที่เคยเห็น

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 64. ประกอบ

72.       ศิลปะนามธรรม

(1) ไม่มีเนื้อหา 

(2) มีแต่ความว่างเปล่า

(3) รูปร่างเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม      

(4) มีรูปร่างบิดเบี้ยว

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 64. ประกอบ

73.       ข้อใดเป็นวิจิตรศิลป์

(1) แจกันรูปแบบแปลกใหม่    

(2) ตึกสูงห้าสิบชั้น

(3) ภาพพิมพ์รูปวัด      

(4) ภาพเหมือนรูปดอกไม้

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 52. ประกอบ

74.       งานหัตถศิลป์คือข้อใด

(1) จี้เพชรแซมด้วยมรกต         (2) ตะกร้าหวายลายดอกพิกุล

(3) ต่างหูรูปพัด            (4) หินสลักเป็นรูปเจดีย์

ตอบ 2 (คำบรรยาย) หัตถศิลป์ (Craft Art) หมายถึง งานศิลปะที่นำไปใช้ในงานหัตถกรรม โดยใช้มือทำเป็นส่วนใหญ่ เช่น เครื่องปั้นดินเผา งานแกะสลักไม้ งานถักทอ งานหวาย รวมถึงงานช่างสิบหมู่ของไทยด้วย

75.       งานทัศนศิลป์เกี่ยวข้องกับข้อใด

(1) พานพระขันหมาก  (2) ภาพพิมพ์บนผ้าไหม (3) หน้าบันวิหารไม้วัดพันเตา            (4) ถูกทุกข้อ

ตอบ 4 หน้า 86 (S), (ดูคำอธิบายข้อ 69. ประกอบ) ทัศนศิลป์ (Visual Art) หมายถึง งานศิลปะที่สัมผัสได้ด้วยการมองเห็น ซึ่งเป็นศิลปะที่มีรูปทรง มีโครงสร้าง และมีผลงานที่สามารถมองเห็น ความงามได้ เช่น งานจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ สถาปัตยกรรม มัณฑนศิลป์ ฯลฯ

76.       ประติมากรรมนูนต่ำคือข้อใด

(1) ภาพปูนปั้นที่เจดีย์จุลประโทน       (2) ลายจำหลักบนใบเสมา

(3) เหรียญห้าบาทไทย            (4) พระพุทธรูปบนฐานเตี้ย

ตอบ 3 หน้า 41 – 42 ประติมากรรม คือ ศิลปกรรมซึ่งเป็นรูปทรงสามมิติ มีการกินที่ในอากาศ แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. ประติมากรรมนูนตํ่า คือ รูปที่ปั้นหรือแกะสลักให้ยื่นออกมา จากแผนหลัง โดยมีพื้นแบนราบเสมอกันทั่วทั้งองค์ประกอบ เช่น เหรียญเงินตราต่าง ๆ ฯลฯ

2.         ประติมากรรมนูนสูง คือ รูปปั้นหรือแกะสลักที่นูนออกมาจนเกือบหลุดออกจากแผ่นหลัง

3.         ประติมากรรมลอยตัว คือ รูปปั้นที่ไม่มีแผ่นหลัง สามารถดูได้รอบด้านและทุกระดับแนวดู

77.       ภาพหุ่นนิ่งมีลักษณะเกี่ยวข้องกับ

(1) ฉากลับแลเรื่องอิเหนา        (2) ตู้ลายรดนํ้าสมัยอยุธยา

(3) ลายเส้นรูปเหมือนดอกเบญจมาศ (4) รูปเรขาคณิตในศิลปะถํ้า

ตอบ 3 หน้า 36 (S) ภาพเหมือนจริงหรือหุ่นนิ่ง (Still Life) เป็นการแสดงออกตามความเป็นจริง ซึ่งถอดแบบมาจากธรรมชาติอย่งชัดเจน โดยศิลปินจะแสดงความรู้สึกต่าง ๆ ตามที่เข้าใจ และต้องการแสดงออก ได้แก่ การแสดงออกถึงเรื่องราวชีวิตจริง การทำงาน ความยากจน เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน เช่น ภาพหุ่นนิ่งของนักดนตรี ภาพลายเส้นรูปเหมือน ของดอกไม้ต่าง ๆ เป็นต้น

78.       ภาพหุ่นนิ่งรูปดอกไม้เกี่ยวข้องกับข้อใด

(1) สีน้ำมัน      (2) ลายเส้น     (3) จิตรกรรม   (4) ประติมากรรม

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 77. ประกอบ

79.       เก้าอี้ฝังมุกของจักรพรรดิจีน

(1) จิตรกรรมที่สดใส    (2) ประติมากรรมอันลํ้าค่า

(3) ความคิดจากจินตนาการ    (4) ความสวยงามของประณีตศิลป์

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 70. ประกอบ

80.       พื้นผิวขัดมันของเก้าอี้ไม้มะเกลือให้ความรู้สึกทางสุนทรียภาพที่

(1) ลื่น มัน       (2) น่าเกรงขาม            (3) บางเบา      (4) เย็น

ตอบ 4 หน้า 64 – 65 (S) พื้นผิวของดิน เปลือกไม้ อิฐ พืช เปลือกไข่ ขนสัตว์ ใยไหม ปีกของแมลง หรือไม้มะเกลือขัดมัน ฯลฯ ซึ่งมีลักษณะโดยธรรมชาติเป็นวัสดุที่แข็งและสะท้อนแสงได้อย่างดี จะให้ความรู้สึกที่เย็น แต่ถ้ามีลายไม้มากหรือมีสีนํ้าตาลเข้มจนเกือบดำจะให้ความรู้สึกที่อบอุ่นแทน

81.       งานจิตรกรรม

(1) ความคิดสร้างสรรค์จากไม้ 

(2) ภาพดวงอาทิตย์บนผืนผ้าใบ

(3) บ้านสามชั้นทรงสเปน        

(4) ปูนปั้นสีสันสวยงาม

ตอบ 2 หน้า 4195 (S) งานจิตรกรรม (Painting) คือ ภาพเขียนและการเขียนภาพ โดยเป็นกรรมวิธี ของการนำสีชนิดต่าง ๆมาระบายหรือเขียนลงบนแผ่นราบ เช่นผืนผ้าไม้ โลหะ กระดาษ ผนังปูน ฯลฯ เพื่อให้เกิดเป็นภาพที่มีความหมายและมีความงามตามต้องการ

82.       จิตรกรรมฝาผนังของไทย

(1) ให้ความรู้สึกอ่อนหวานเสมอ          

(2) มักเป็นภาพสามมิติ

(3) มีความแบนเรียบ ไม่มีความลึก      

(4) มักเป็นเรื่องในวรรณคดี

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 63. ประกอบ

83.       รูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสให้ความรู้สึกที่

(1) หนักแน่น เข้มแข็ง  

(2) สดชื่น ร่าเริง           

(3) เก๋ สนุกสนาน         

(4) ไม่ค่อยเป็นทางการ

ตอบ 1 หน้า 62 – 63 (S) รูปทรง สามารถสื่อความหมายและความรู้สึกได้เช่นเดียวกับวิธีการของเส้น เช่น รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสจะให้ความรู้สึกหนักแน่น เข้มแข็ง มั่นคงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าจะให้ความรู้สึก ตรงไปตรงมา เป็นกลาง เคร่งขรึม เอาจริงเอาจัง รูปสี่เหลี่ยมคางหมูจะให้ความรู้สึกแปลกใหม่ เก๋ สนุกสนาน ไม่ค่อยเป็นทางการมากนักรูปร่างอิสระจะให้ความรู้สึกสดชื่น ร่าเริง เป็นต้น

84.       ความสมดุลคือข้อใด

(1) ต่างหูข้างหนึ่งเป็นรูปดาวและอีกข้างหนึ่งเป็นรูปเดือน      (2) ที่คาดผมมีโบทางซ้าย

(3) กระถางดอกโป๊ยเซียนแตกกิ่งก้านสาขามากมาย (4) ดอกไม้ปักแจกันเป็นรูปดาว

ตอบ 1 หน้า 30 – 3176 (S) ความสมดุล หมายถึง ความเท่ากันหรือการถ่วงเพื่อให้เกิดการเท่ากัน แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. ความสมดุลที่เท่ากัน คือ ความเท่ากันทั้งซ้ายและขวา เช่น ร่างกายของคน สัตว์ ฯลฯ 2. ความสมดุลไม่เท่ากัน คือ ความสมดุลที่มิได้เท่ากันโดยแท้จริง แต่มีการจัดขนาด รูปร่าง สี รูปทรง ฯลฯ ให้แตกต่างกันทั้ง 2 ข้าง หรือมีลักษณะสมดุลด้วยตา โดยประมาณ เช่น ต่างหูข้างหนึ่งเป็นรูปดาวและอีกข้างหนึ่งเป็นรูปเดือน ฯลฯ

85.       ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับรูปทรงเรขาคณิต

(1) ลายจำหลักหินรูปทรงกลม            (2) ตะกร้าย่านลิเภาลายสามเหลี่ยม

(3) ผ้าไหมลายนํ้าไหลจากน่าน            (4) จิตรกรรมฝาผนังลายเทพชุมนุม

ตอบ 4 หน้า 22360 (S) รูปทรง (Form) แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ

1.         อินทรียรูป คือ รูปทรงที่มีชีวิต มีกฎเกณฑ์และมีโครงสร้างที่แน่นอน

2.         รูปทรงเรขาคณิต คือ รูปทรงที่เกิดจากการสร้างของมนุษย์ให้เกิดเป็นเส้นตรง เป็นรูป มีเหลี่ยมมุม รูปวงกลม รวมถึงการตกแต่งด้วยแบบลายเส้นในการจักสาน เช่น ตะกร้า ชะลอม กระบุง ลายในการถักทอ ฯลฯ

3.         รูปทรงอิสระ คือ รูปทรงที่ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว และไม่มีโครงสร้าง

86.       สีที่มีความอ่อนหวานคือสีใด

(1) สีแดง         (2) สีชมพู        (3) สีเหลือง     (4) สีเขียว

ตอบ 2 หน้า 71 (S) ในเรื่องจิตวิทยาของสีนั้นถือว่า สีมิอิทธิพลเหนือจิตใจของมนุษย์โดยทั่วไป ดังนั้นสีจึงสามารถบ่งบอกถึงอารมณ์และความรู้สึกได้เป็นอย่างดี เช่น สีเหลือง หมายถึง ความไพบูลย์สีแดง หมายถึง ความตื่นเต้นเร้าใจสีชมพูหรือสีดอกกุหลาบ หมายถึง ความอ่อนหวานนุ่มนวลสีเขียวและสีนํ้าเงิน หมายถึง ความสงบเงียบ ฯลฯ

87.       สีกลางคือสีใด

(1) ขาว            (2) น้ำเงิน        (3) นํ้าตาล       (4) เทา

ตอบ 4 หน้า 3467 (S) สีทั้งหลายที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันนั้นเกิดจากการผสมกันของแม่สีที่เรียกว่า แม่สีวัตถุธาตุ ได้แก่            1. สีนํ้าเงิน (Prussian Blue)     2. สีแดง (Crimson)3. สีเหลือง (Gamboge Tint) ซึ่งสีทั้งสามนี้เมื่อนำมาผสมกันในอัตราส่วนที่เท่า ๆ กัน ก็จะได้สีกลาง (Neutral Tint) คือ สีเทา แต่ถ้าผสมเข้มจัดจะได้สีดำ

88.       สีตรงกันข้ามคือข้อใด

(1) เทาเข้ม       ฟ้าใส   (2) แดง ชมพูอ่อน        (3)       เหลือง  นํ้าตาล (4)       ส้ม นํ้าเงิน

ตอบ 4 หน้า 3669 (S) สีตรงกันข้ามหรือสีคู่จะเป็นสีที่ตัดกันอย่างแท้จริง ซึ่งสีบางสีจะเอามาผสมกัน ไม่ได้เพราะสีจะเน่าและไม่สวย โดยสีชนิดนี้มีมากคู่ด้วยกัน เช่น สีเขียวกับสีแดงเลือดนก,สีเหลืองกับสีม่วงสีน้ำเงินกับสีส้มสีแดงกับสีเขียวนํ้าเงิน ฯลฯ

89.       ต้นไม้ที่อยู่ใกล้ตัวเรามากที่สุด ด้านที่โดนแดดเต็มที่จะเป็นสีใด

(1) เหลือง        (2) ขาว            (3)       เทา      (4)       ดำ

ตอบ 2 หน้า 55 – 56 (S) การเขียนรูปที่มีแสงส่องด้านข้างนั้น ด้านที่โดนแดดเต็มที่จะสว่างจนเกิด เป็นน้ำหนักขาว ส่วนที่พอจะได้แสงนิดหน่อยจะกลายเป็นสีเทา และส่วนที่ตรงกันข้ามกับแสง หรือเงาจะเป็นนํ้าหนักดำ

90.       ค่าของความแตกต่างที่เกิดจากแสงและเงาคือ

(1) รูปทรง        (2) ความเข้ม   (3)       จุด       (4)       ทิศทาง

ตอบ 2 หน้า 56 (S) ความเข้ม (Value) หมายถึง ค่าของความแตกต่างที่เกิดจากแสงและเงา ซึ่งคุณค่าของแสงและเงาจะช่วยให้งานศิลปะมีลักษณะเป็นแท่งหรือเป็นกลุ่มก้อน จนทำให้ เกิดเป็นภาพสามมิติขึ้น และก่อให้เกิดความงามในทางศิลปะ

91.       การใช้สีของศิลปะป๊อบ

(1) ชมพู แดงส้ม          

(2) นํ้าเงิน ฟ้าหม่น 

(3) แดง น้ำเงิน      

(4) เหลือง ครีม

ตอบ 3 หน้า 61 (S) ศิลปะป๊อบ มีลักษณะเกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตของมนุษย์ มีการล้อเลียน เยาะเย้ย หรือคัดค้านในเรื่องของสุนทรียภาพอยู่บ้าง มีการใช้สีสดใสระบายด้วยเทคนิคของ เส้นรอบนอกและขอบคม นิยมใช้สีตัดกัน เช่น นํ้าเงินกับแดง แดงกับเหลือง เป็นต้น

92.       เส้นที่กระจายออกเป็นรัศมี หมายถึง

(1) ความหวัง   

(2) ความทะเยอทะยาน

(3) ความมีกำลังเพิ่มขึ้น           

(4) ความมีสง่า

ตอบ 3 หน้า 264423051 – 53 (S) ความหมายของเส้น มีดังนี้

1. เส้นตรง ให้ความรู้สึกแข็งแรง มั่นคง           2. เส้นโค้ง ให้ความรู้สึกอ่อนโยน อ่อนหวาน อ่อนไหว

3. เส้นตั้ง ให้ความรู้สึกมั่นคง จริงจัง   4. เส้นซิกแซ็ก ให้ความรู้สึกไม่หยุดนิ่ง ต่อเนื่อง

ไม่สิ้นสุด ตื่นเต้น          5. เส้นนอน ให้ความรู้สึกสงบ นิ่งเฉย ผ่อนคลาย

6.         เส้นที่กระจายออกเป็นรัศมี ให้ความรู้สึกกระจายออก ระเบิด ความมีกำลังเพิ่มขึ้น

7.         เส้นโค้งลงสู่พื้น ให้ความรู้สึกเศร้า เหนื่อยหน่าย ฯลฯ

93.       เส้นที่มีลักษณะต่างกันและมีทิศทางต่างกัน

(1) ย้อมมีความกลมกลืนกัน    

(2) เกิดความไม่กลมกลืนกัน

(3) ไร้ชีวิตจิตใจ            

(4) มีความรู้สึกขัดแย้ง

ตอบ 2 หน้า 53 (S) หลักสำคัญในการออกแบบเส้นเพื่อให้รู้สึกว่ามีความกลมกลืนหรือตัดกัน มีดังนี้

1.         เส้นที่มีลักษณะคล้ายกันและมีทิศทางใกล้กัน ย่อมกลมกลืนกัน

2.         เส้นที่มีลักษณะต่างกันและมีทิศทางต่างกัน ย่อมไม่กลมกลืนกัน

94.       เส้นที่มีลักษณะต่างกัน

(1) ย่อมมีทิศทางต่างกัน          (2) ขาดชีวิตจิตใจ

(3) แสดงถึงความขัดแย้งกัน   (4) ไม่มีความกลมกลืนกัน

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 93. ประกอบ

95.       เส้นซิกแซ็ก หมายถึง

(1) ความมีพลัง            (2) ความต่อเนื่องไม่สิ้นสุด

(3) ความยุ่งเหยิง         (4) ความไม่สมดุล

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 92. ประกอบ

96.       เส้นนอนมีความหมาย

(1) สงบ           (2) รวดเร็ว       (3) ต้นพลัง      (4) เหนื่อยหน่าย

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 92. ประกอบ

97.       ความมั่นคง แสดงด้วยเส้นใด

(1) เส้นโค้ง      (2)       เส้นตรง            (3)       เส้นเฉียง          (4)       เส้นผ่าน

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 92. ประกอบ

98.       เส้นที่ให้ความรู้สึกไม่หยุดนิ่ง คือ

(1) เส้นโค้ง      (2)       เส้นแย้ง           (3)       เส้นตรง            (4)       เส้นซิกแซ็ก

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 92. ประกอบ

99.       เส้นโค้ง หมายถึง

(1) ความไม่แน่นอน     (2)ความอ่อนไหว         (3)ความแน่วแน่           (4)ความไม่หยุดนิ่ง

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 92. ประกอบ

100.    เส้นโค้งให้ความรู้สึกอย่างไร

(1) อ่อนหวาน

(2)หดหู่

(3)       สงบ

(4)       เหนื่อยหน่าย

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 92. ประกอบ

ART1003 ศิลปะวิจักษณ์ การสอบไล่ภาค 1 ปีการศึกษา 2556

การสอบไล่ภาค 1 ปีการศึกษา 2556

ข้อสอบกระบวนวิชา ART 1003 ศิลปะวิจักษณ์

คำสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว (ข้อสอบมีทั้งหมด 100 ข้อ)

1.         จิตรกรรมตามผนังถ้ำของไทยเก่าสุดอยู่ในสมัยใด

(1)       สมัยหินเก่า      

(2) สมัยหินกลาง         

(3) สมัยหินใหม่           

(4) สมัยโลหะ

ตอบ 1 หน้า 71108 (S), (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 39) จิตรกรรมตามผนังถํ้าของไทย ที่เก่าที่สุดอยู่ในสมัยหินเก่า ซึ่งมีการพบหลักฐานทั้งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และ ภาคกลาง เช่น มีการพบการสลักเพิงผาที่เก่าที่สุดที่ถํ้ามิ้ม จ.อุดรธานี หรือมีการพบรูปมือคน ที่ถํ้าฝ่ามือ จ.ขอนแก่น เป็นต้น

2.         พระบรมธาตุไชยาเป็นสถาปัตยกรรมในศิลปะ

(1)       ทวารวดี           

(2)       ศรีวิชัย 

(3)       ลพบุรี  

(4)       สุโขทัย

ตอบ 2 หน้า 129 พระบรมธาตุไชยา จ.สุราษฎร์ธานี เป็นสถาปัตยกรรมในศิลปะศรีวิชัยที่แม้จะได้รับการบูรณะซ่อมแซมมาบ้าง แต่ก็ยังคงเห็นลักษณะเดิมของสถาปัตยกรรมแบบศรีวิชัยอยู่ ในขณะที่สถาปัตยกรรมส่วนใหญ่ที่พบใน อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานีนั้น ได้รับการซ่อมแซม จนเกือบจะไม่เห็นสถาปัตยกรรมรูปเดิม

3.         ศิลปะของไทยสมัยใดที่มีความคล้ายคลึงกับศิลปะเขมร

(1)       ศิลปะศรีวิชัย   

(2)       ศิลปะลพบุรี    

(3)       ศิลปะสุโขทัย   

(4)       ศิลปะอยุธยา

ตอบ 2 หน้า 132 ศิลปะลพบุรี เจริญขึ้นทางภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยโดยลักษณะทางศิลปกรรมจะคล้ายคลึงกับศิลปกรรมในเขมร ทั้งนี้เพราะดินแดนส่วนใหญ่ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเมืองลพบุรีของไทยเคยอยู่ในครอบครองของเขมรมาก่อน

4.         พระพุทธรูปทวารวดีรุ่นที่ 2 เป็นอิทธิพลของศิลปะ

(1)       อินเดีย (2)       พื้นเมือง           (3)       เขมร    (4)       สุโขทัย

ตอบ 2 หน้า 123 – 124 พระพุทธรูปทวารวดีแบ่งเป็น 3 รุ่นดังนี้

1.         รุ่นที่ 1 แสดงอิทธิพลของศิลปะอมราวดี คุปตะและหลังคุปตะ มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 12

2.         รุ่นที่ 2 แสดงอิทธิพลของศิลปะพื้นเมืองมากยิ่งขึ้น มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 13 – 15

3.         รุ่นที่ 3 แสดงอิทธิพลของศิลปะขอมแบบปาปวนหรือศิลปะลพบุรีตอนต้น มีอายุราว พุทธศตวรรษที่ 15 ลงมา

5.         ศิลปะทวารวดี

(1)       ทำขึ้นจากคติทางศาสนาพุทธหินยานนิกายหนึ่ง         (2) เป็นศิลปะสมัยแรกสุดของไทย

(3) เป็นศิลปะที่เจริญขึ้นทางตะวันออกเฉียงเหนือของไทย     (4) ถูกข้อ 1 และ 2

ตอบ 2 หน้า 119 – 120214 ศิลปะทวารวดี เป็นศิลปะสมัยแรกสุดของไทยที่เจริญขึ้นทางภาคกลาง และทำขึ้นจากคติทางพุทธศาสนาหินยานอย่างเถรวาทที่ใช้ทั้งภาษาบาลีและสันสกฤต พุทธศาสนา มหายาน และศาสนาฮินดู ดังนั้นจึงปรากฏมีอิทธิพลของศิลปะอินเดียแบบอมราวดีซึ่งเป็นศิลปกรรมที่ทำขึ้นจากคติทางพุทธหินยาน รวมทั้งศิลปะคุปตะ หลังคุปตะ และศิลปะปาละ- เสนะที่ทำขึ้นจากคติทางพุทธศาสนามหายาน

6.         พระพิมพ์ในศิลปะทวารวดีต่างจากพระพิมฟในสมัยศรีวิชัยคือ

(1)       ทำขึ้นเพื่อสืบศาสนาพุทธ        (2) เป็นพระพิมพ์ดินดิบ

(3) นิยมทำพระกำแพงร้อย      (4) เป็นพระพิมพ์สำริด

ตอบ 1 หน้า 124129 พระพิมพ์ของศิลปะทวารวดีมักสร้างด้วยดินเผาเพื่อไว้สืบพระบวรพุทธศาสนา โดยมักมีพระธรรมหรือคาถาเย ธมมาฯ อันเป็นหัวใจของศาสนาปรากฏอยู่ ส่วนพระพิมพ์ ของศิลปะศรีวิชัยนั้นทำขึ้นจากคติทางมหายาน โดยนิยมทำพระพิมพ์ดินดิบเพราะไม่ได้ถือ การสืบพระพุทธศาสนาเป็นที่ตั้ง แต่ถือปรมัตประโยชน์ของผู้มรณภพไปแล้ว

7.         ศิลปะของไทยสมัยใดที่นิยมสร้างสถาปัตยกรรมด้วยศิลาแลง

(1)       ศิลปะลพบุรี    (2) ศิลปะสุโขทัย         (3) ศิลปะอยุธยา         (4) ถูกข้อ 1 และ 2

ตอบ 4 หน้า 136148 สถาปัตยกรรมลพบุรีมักจะก่อด้วยศิลาแลงและสร้างเป็นเทวาลัยบนเชิงเขาสูง ส่วนสถาปัตยกรรมสุโขทัยที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะลพบุรีก็มักจะก่อด้วยศิลาแลงเช่นกัน เช่น พระปรางค์วัดพระพายหลวง หรือศาลตาผาแดง จ.สุโขทัย

8.         เราทราบคำว่า ทวารวดี” จาก

(1)       บันทึกจากจดหมายเหตุจีนในสมัยราชวงค์ฮั่น (2) จารึกบนหลักศิลาจารึกสมัยสุโขทัย

(3) บันทึกจากจดหมายเหตุรายวันของนักพรตจีน       (4) จารึกบนแผ่นทองที่พบที่นครปฐมและอู่ทอง

ตอบ 3 หน้า 119 เราทราบคำว่า ทวารวดี” จากการพบเหรียญเงิน 3 เหรียญที่มีจารึกว่าศรีทวาราวดีศวรปุณย” พร้อมทั้งจดหมายเหตุจีนจากการบันทึกของหลวงจีนเหี้ยนจัง ซึ่งเป็นพระสงฆ์ในสมัยราชวงศ์ถัง โดยเขาได้กล่าวถึงอาณาจักรโถโลโปตี้ (ทวารวดี) ว่า อยู่ระหว่างอาณาจักรศรีเกษตร (พม่า) และอาณาจักรอิสานปุระ (เขมร)

9.         เจดีย์วัดกู่กุดอยู่ที่จังหวัด

(1)       เชียงราย          (2) เชียงใหม่    (3) ลำพูน         (4) ราชบุรี

ตอบ 3 หน้า 124 – 125162 (S) สถาปัตยกรรมในสมัยทวารวดีจะเห็นได้จากรูปเจดีย์เท่านั้นเพราะไม่ปรากฏว่ามีโบสถ์วิหารหลงเหลืออยู่แตอย่างใด เช่น พระเจดีย์จุลประโทนและเจดีย์ วัดพระเมรุ จ.นครปฐม ซึ่งเป็นซากอาคารใหญ่ก่อด้วยอิฐ บางครั้งย่อมุมและมีบันไดลงไป ข้างล่างเจดีย์วัดกู่กุด จ.ลำพูน ซึ่งจัดเป็นสถาปัตยกรรมทวารวดีตอนปลาย ฯลฯ

10.       ศิลปะอินเดียที่ให้กับศิลปะทวารวดี

(1)       ศิลปะอินเดียสมัยโบราณและศิลปะคันธารราฐ

(2) ศิลปะมถุราและศิลปะอมราวดี

(3) ศิลปะคันธารราฐและศิลปะมถุรา

(4) ศิลปะอมราวดีและศิลปะคุปตะ

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 5. ประกอบ

11.       ศิลปะที่มีความคล้ายคลึงกับศิลปะอินโดนีเซีย

(1)       ศิลปะทวารวดี 

(2) ศิลปะศรีวิชัย         

(3) ศิลปะลพบุรี           

(4) ศิลปะเชียงแสน

ตอบ 2 หน้า 126 – 127 ศิลปะศรีวิชัย มีอำนาจขึ้นที่เกาะสุมาตราและขยายอำนาจเข้าครอบครอง ดินแดนทางตอนใต้ของไทย โดยศิลปะในสมัยนี้จะมีลักษณะคล้ายคลึงกับศิลปะอินโดนีเซีย คือ เป็นศิลปกรรมที่ทำขึ้นจากพุทธศาสนามหายานทั้งสิ้น โดยได้รับอิทธิพลจากศิลปะแบบ คุปตะและปาละ-เสนะจากอินเดีย

12.       ศิลปะของไทยยุคใดที่ทำประติมากรรมได้สวยที่สุด

(1) ศิลปะเชียงแสน     

(2) ศิลปะสุโขทัย         

(3) ศิลปะอยุธยา         

(4) ศิลปะรัตนโกสินทร์

ตอบ 2 หน้า 143 – 144 ศิลปะสุโขทัย ถือเป็นศิลปะยุคทองของศิลปกรรมไทย ทั้งนี้เพราะ ประติมากรรมในสมัยนี้มีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะแบบ มีความสวยงามสง่าที่สุด และมีความเรียบง่ายตามอุดมคติผิดไปจากศิลปกรรมสมัยอื่น ๆ

13.       งานจิตรกรรมฝาผนังไทยมีลักษณะตามข้อใด

(1)       ภาพสามมิติ    

(2) มีระยะใกล้และไกล 

(3) ภาพสองมิติ         

(4) ภาพแบนเรียบ

ตอบ 3 หน้า 41221 – 222 ลักษณะพิเศษของภาพจิตรกรรมไทย คือ ภาพจิตรกรรมฝาผนังของไทยส่วนใหญ่จะประกอบด้วยสีและเส้นเท่านั้น ทำให้มีลักษณะเป็นรูปแบบเรียบ หรือเป็นภาพสองมิติ ที่ไม่มีความลึก ผิดกับภาพเขียนของศิลปะตะวันตก ซึ่งเป็นภาพสามมิติที่มีความลึก เพราะ ประกอบไปด้วยสี เส้น แสง และเงา

14.       ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการแสดงออกตามความเป็นจริง          

(1) ภาพหุ่นนิ่งของดอกชบา

(2)       ภาพเหมือนของหนูแหวน         (3) ภาพชีวิตชุมชนแออัด         (4)       ต้นนารีผล

ตอบ 4 หน้า11,36(S) การแสดงออกตามความเป็นจริง (Realism) เป็นการเปิดเผยสภาพความจริง จากธรรมชาติและสังคม โดยศิลปินจะแสดงความรู้สึกต่าง ๆ ตามความเข้าใจและความต้องการ เช่น ภาพวาดด้านประวัติศาสตร์ ภาพเหมือนจริงหรือหุ่นนิ่งที่ถอดแบบมาจากธรรมชาติ อย่างชัดเจน ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวชีวิตจริงของคน ชีวิตชุมชนแออัด ความยากจน ฯลฯ

15.       ภาพสามมิติมีลักษณะอย่างไร          

(1) แบนราบ

(2)       มีความลึกในภาพ        (3) เส้นคมกริบดังคมมีด          (4)       รูปทรงเป็นสี่เหลียมคางหมู

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 13. ประกอบ

16.       ความเศร้าแทนด้วยเส้นใด     

(1) เส้นตั้งตัดกัน

(2)       เส้นโค้งเป็นครึ่งวงกลม            (3) เส้นเฉียงเป็นรูปกรวย        (4)       เส้นโค้งลงสู่พื้น

ตอบ 4 หน้า 264423051 – 53 (S) ความหมายของเส้น มีดังนี้

1.         เส้นตรง ให้ความรู้สึกแข็งแรง มั่นคง    2. เส้นโค้ง ให้ความรู้สึกอ่อนโยน อ่อนหวาน อ่อนไหว

3. เส้นตั้ง ให้ความรู้สึกมั่นคง จริงจัง   4. เส้นนอน ให้ความรู้สึกสงบ นิ่งเฉย ผ่อนคลาย

5.         เส้นซิกแซ็ก ให้ความรู้สึกไม่หยุดนิง ต่อเนื่อง ไม่สิ้นสุด ตื่นเต้น

6.         เส้นที่กระจายออกเป็นรัศมี ให้ความรู้สึกกระจายออก ระเบิด ความมีกำลังเพิ่มขึ้น

7.         เส้นโค้งลงสู่พื้น ให้ความรู้สึกเศร้า เหนื่อยหน่าย ฯลฯ

17.       ศิลปินได้รับแรงบันดาลใจจากสิ่งใดในการสร้างศาสนสถาน

(1)       ศาสนา            (2) ความเชื่อในเทพเจ้า           (3) ธรรมชาติ   (4) สงคราม

ตอบ 1. หน้า 15, (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 28) ศาสนาเป็นแรงบันดาลใจอันยิ่งใหญ่ต่อการสร้างสรรค์งานศิลปะ เพราะเมื่อเกิดศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ ศิลปกรรมทุกแขนง ต่างก็สร้างขึ้นเพื่อรับใช้ศาสนาเป็นสวนใหญ่ ดังจะเห็นได้ว่ามีการสร้างศาสนสถาน ศาสนวัตถุ และจิตรกรรมอันเนื่องมาจากศาสนาอยู่มากมาย

18.       ข้อใดไม่ใช่หลักสำคัญของสุนทรียภาพ         

(1) ความมีระเบียบ

(2)       ความประสานกลมกลืน         (3) ความงาม   (4) ความเป็นธรรมชาติ

ตอบ 4 หน้า 88 – 89 (ร) หลักสำคัญของสุนทรียภาพ หรือการรู้คุณค่าในความงามมีอยู่ 3 ประการ คือ

1.         ความมีระเบียบ (Order) 2. ความประสานกลมกลืน (Harmony) 3. ความงาม (Beauty)

19.       ศิลปะภาพพิมพ์มีลักษณะตามข้อใด  

(1) เขียนเป็นลายเส้น

(2)       ระบายด้วยสีลงบนผ้า (3) กดหรือประทับจากแม่พิมพ์           (4) มักเป็นสีเอกรงค์

ตอบ 3 หน้า 97 (S) ศิลปะภาพพิมพ์ (Graphic Arts) มาจากภาษาลาตินว่า “Premere”ซึ่งแปลว่า การกดให้ติด” หมายถึง การสร้างรูปหรือเครื่องหมายลงบนวัสดุผิวราบใด ๆ ด้วยวิธีการกดหรือประทับจากแม่พิมพ์ ซึ่งเป็นงานศิลปะที่มีผิวพื้นแบนราบ มีลักษณะ 2 มิติ มีความกว้างและความยาว โดยปราศจากความหนาหรือความลึก

20.       ข้อใดคืองานประติมากรรม

(1)       ผ้าลายนํ้าไหลจากเมืองน่าน

(2) วีนัส วีเลนดอร์ฟ

(3)       ภาพหญิงสาวส่องกระจกของปิกาลโซ

(4) พีระมิด

ตอบ 2 หน้า 51 ประติมากรรมยุคโบราณที่ทำขึ้นครั้งแรกของคนสมัยหินหรือสมัยก่อนประวัติศาสตร์ มักจะนิยมทำเป็นรูปผู้หญิง ไม่มีหน้าตา แต่มีรูปร่างอ้วน แสดงว่าประติมากรรมที่ทำขึ้นมานี้ มีความเกี่ยวข้องกับความอุดมสมบูรณ์ และแสดงออกถึงการนับถือผู้หญิงเป็นใหญ่หรือนับถือ เพศแม่อย่างชัดเจน เช่น พบประติมากรรมลอยตัวที่ประเทศเยอรมนี คือ วีนัส วีเลนดอร์ฟ (Venus of Willendorf) ซึ่งเป็นเทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์

21.       ข้อใดคืองานนิเทศศิลป์

(1)       การออกแบบลายผ้า 

(2) ตุ๊กตาดินเผา 

(3) เครื่องไม้ลายไทย   

(4) กำไลแผ่นทองลายไทย

ตอบ 1 หน้า 102 – 103 (S) งานนิเทศศิลป์ได้เข้าไปเกี่ยวข้องกับวงการธุรกิจและการโฆษณา เช่น การออกแบบหนังสือเด็ก ภาพประกอบในนิตยสาร การออกแบบเครื่องหมายสัญลักษณ์ การออกแบบลายผ้า ลายกระเบื้องเคลือบ ตลอดจนการออกแบบผลิตภัณฑ์จำพวก เครื่องปันดินเผา ฯลฯ

22.       งานจิตรกรรมฝาผนังข้อใดคือสัญลักษณ์ของความดีงามที่ศิลปินไทยโบราณได้ปรุงแต่งขึ้น

(1)       ครุฑ     

(2) เทพยดา     

(3) อสูร            

(4) คชสีห์

ตอบ 2 หน้า 44 (S) งานจิตรกรรมฝาผนังของศิลปินไทยในสมัยโบราณ มักจะสร้างสิ่งสมมุติเพื่อเป็นสัญลักษณ์ เช่น การเขียนภาพพระพุทธเจ้าขึ้นใหม่เพื่อแทนความหมายของนิพพาน. การเขียนรูปยักษ์มาร อสูรหรือปีศาจ แทนความหมายของอวิชชาหรือสิ่งชั่วร้าย,การเขียนรูปเทพยดา เทวดา นางฟ้า แทนความหมายของความดีงาม ฯลฯ

23.       จุดมุ่งหมายของการสร้างงานสถาปัตยกรรมอียิปต์เพื่อสิ่งใด 

(1) พระผู้เป็นเจ้า

(2)       วีรบุรุษ 

(3) คนที่ตายไปแล้ว     

(4) ตอบแทนบุญคุณธรรมชาติ

ตอบ 3 หน้า 116(S) สถาปัตยกรรมของอาณาจักรอียิปต์มีจุดมุ่งหมายในการสร้างขึ้นเพื่อคนที่ตาย ไปแล้ว โดยผู้คนที่ยังมีชีวิตอยู่ไม่สามารถใช้ประโยชน์จากสถาปัตยกรรมนั้นได้ เช่น การสร้าง มัสตาบา และพีระมิด ซึ่งแบ่งเป็นห้องต่าง ๆ ตามความต้องการของฟาโรห์

24.       ประติมากรรมศิลปะอียิปต์มีลักษณะอย่างไร 

(1) ชอบสลักรูปหิน

(2)       ชอบแกะหินอ่อนสีชมพูเข้ม      (3) เป็นแท่งหินสี่เหลี่ยม ทึบตัน           (4) เป็นโลหะสีเขียว

ตอบ 3 หน้า 115-116 (S) ประติมากรรมของศิลปะอียิปต์จะเป็นแท่งหินสี่เหลี่ยม ซึ่งมีทั้งแบบ นูนเต็มตัวและแบบนูนต่ำ โดยรูปคนจะคล้ายกับหุ่น เน้นความงามด้านหน้า หรือมีลักษณะ มองตรงไปข้างหน้า แนวคางจะขนานกับเส้นพื้น ไม่ก้มไม่เงยหน้า ให้ความรู้สึกมั่นคงทึบตัน ไม่นิยมเน้นกล้ามเนื้อ และชอบตกแต่งด้วยแก้วหินสี

25.       งานจิตรกรรมศิลปะอียิปต์แสดงออกซึ่งความงดงามอย่างไร

(1) รูปคนมักสลับด้านกัน        (2) ไม่ได้คำนึงถึงลักษณะธรรมชาติ

(3)       แสดงภาพใกล้ไกลด้วยวิธซ้อนทับกัน  (4) ถูกทุกข้อ

ตอบ 4 หน้า 118(S) งานจิตรกรรมรูปคนของศิลปะอียิปต์มักจะสลับด้านกันโดยไม่ได้คำนึงถึง ลักษณะตามธรรมชาติ เช่น เขียนส่วนหัวและท่อนขาจนถึงเท้าเป็นรูปด้านข้าง เขียนตาและ ทรวงอกเป็นรูปด้านหน้า ฯลฯ นอกจากนี้ยังนิยมแสดงภาพใกล้ไกลด้วยวิธีซ้อนทับกัน เช่น จิตรกรรมฝาผนังกลุ่มนางร้องไห้ในสุสานของราโมเซส เป็นต้น

26.       ชนชาติใดได้แสดงออกทางศิลปกรรมอย่างมีเหตุผลและมีหลักเกณฑ์

(1) อียิปต์        (2) ซิมิติกส์      (3) กรีก            (4) เปอร์เซียน

ตอบ 3 หน้า 120 (S) ศิลปะกรีกเปรียบเสมือนจุดเริ่มต้นของอารยธรรมตะวันตกที่แสดงออกทาง ศิลปกรรมอย่างมีเหตุผล ไม่ได้มุ่งสนองความเชื่อในอำนาจวิญญาณใด ๆ เชื่อในการค้นคว้า หาความจริงอย่างมีหลักเกณฑ์ อีกทั้งยังเคารพในกฎเกณฑ์ของธรรมชาติที่มีความงาม เพื่อช่วยกล่อมเกลาพัฒนารสนิยมของมวลมนุษย์

27.       วัสดุประเภทใดได้ปรากฏอยู่ในโครงสร้างของงานประติมากรรมศิลปะกรีก

(1) อิฐ  (2)       ปูนปั้น  (3)       หินอ่อน            (4)       ศิลาแลง

ตอบ 3 หน้า 121 (S)124 (S) งานประติมากรรมของศิลปะกรีกนอกจากจะมีความสามารถสูงใน การแกะสลักวัสดุจำพวกหินต่าง ๆ และไม้แล้ว ยังนิยมใช้โลหะหล่อเป็นประติมากรรมอีกด้วย เช่น ประติมากรรมบนเงินเหรียญ นอกจากนี้ในงานสถาปัตยกรรมก็นิยมใช้หินอ่อนเนื้อละเอียด เป็นวัสดุในการก่อสร้างวิหารด้วยเช่นกัน

28.       ความเข้มเกิดจากความแตกต่างของสิ่งใด

(1) รูปทรง        (2)       สี          (3)       แสงและเงา     (4)       จุด

ตอบ 3 หน้า 56 (S) ความเข้ม (Value) หมายถึง ค่าของความแตกต่างที่เกิดจากแสงและเงาซึ่งคุณค่าของแสงและเงาจะช่วยให้งานศิลปะมีลักษณะเป็นแท่งหรือเป็นกลุ่มก้อน จนทำให้ เกิดเป็นภาพสามมิติขึ้น และก่อให้เกิดความงามในทางศิลปะ

29.       ชะลอมไม้ไผ่มีรูปทรงอย่างไร

(1) ลายเรขาคณิต       (2)       ลายเส้นตรง     (3)       ลายเส้นแย้ง    (4)       ลายจักสาน

ตอบ 1 หน้า 22360 (S) รูปทรง (Form) แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ

1.         อินทรียรูป คือ รูปทรงที่มีชีวิต มีกฎเกณฑ์และมีโครงสร้างที่แน่นอน

2.         รูปทรงเรขาคณิต คือ รูปทรงที่เกิดจากการสร้างของมนุษย์ให้เกิดเป็นเส้นตรงเป็นรูปมีเหลี่ยมมุม รูปวงกลม รวมถึงการตกแต่งด้วยแบบลายเส้นในการจักสาน ได้แก่ ตะกร้า ชะลอม กระบุง และลายในการลักทอ (เช่น ผ้าไหมลายน้ำไหลจากน่าน ฯลฯ)

3.         รูปทรงอิสระ คือ รูปทรงที่ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว และไม่มีโครงสร้าง

30. อินทรียรูป คือรูปทรงอย่างไร

(1)       มีโครงสร้างแน่นอน

(2) มีโครงสร้างอิสระ

(3)       มีโครงสร้างเป็นทรงเรขาคณิต

(4) มีโครงสร้างที่เกิดจากความเข้ม

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 29. ประกอบ

31.       ความรู้สึกเรื่องความมั่นคงของตัวอาคารเกิดขึ้นจากข้อใด

(1) การใช้ฐานอาคารเป็นเส้นตรง        

(2) หลังคาพื้นเรียบเป็นเส้นตรง

(3)       ตัวอาคารสีอ่อน            

(4) ตัวอาคารเป็นทรงสี่เหลี่ยม

ตอบ 1 หน้า 25 – 26 เส้น (Line) จะก่อให้เกิดทิศทาง ขนาด รูปร่าง และรูปลักษณะที่แตกต่างกันไป ดังนั้นศิลปินจึงต้องรู้จักนำเส้นเหล่านี้มาใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะและหน้าที่ เช่น เส้นฐานของอาคารจะใช้เส้นตรงตามแนวนอนเพอให้ความรู้สึกเป็นเส้นฐานที่มั่นคง แต่ถ้าใช้เส้น ผิดลักษณะหน้าที่ เช่น ใช้เส้นโค้งเป็นเส้นฐานของอาคารจะทำให้ดูเหมือนว่าอาคารนั้น กำลังจะทรุดลง เป็นต้น

32.       สีวรรณะเย็นให้ความรู้สึกแก่ผู้พบเห็นอย่างไร

(1) ตื่นเต้นเร้าใจ          

(2) มีพลังสูง    

(3) ผ่อนคลายอารมณ์ 

(4) สนุกสนาน

ตอบ 3 หน้า 3568 (S) สี (Colour) แบ่งออกเป็น 2 วรรณะ คือ

1.         สีวรรณะร้อน จะให้ความรู้สึกตื่นเต้นเร้าใจ รุนแรง ขัดแย้ง และสนุกสนานร่าเริง เช่น สีเหลือง ส้ม แสด แดง ม่วงแดง แดงชาด เทาอมแดง ฯลฯ

2.         สีวรรณะเย็น จะให้ความรู้สึกสงบ ผ่อนคลายอารมณ์ และเรียบง่าย เช่น สีเขียว เขียวอ่อน เขียวแก่ ม่วงนํ้าเงิน คราม นํ้าเงิน ม่วง ฯลฯ

33.       วรรณะสีร้อนคือข้อใด

(1)       ม่วงน้ำเงิน      

(2) คราม          

(3) เขียวมะกอก          

(4) เทาอมแดง

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 32. ประกอบ

34.       ความขัดแย้งในงานศิลปะไม่เกี่ยวข้องกับข้อใด        

(1) ดูไม่ซํ้าซาก

(2)       ให้ความรู้สึกลงตัวพอดี           (3) รู้สึกเกิดความแตกต่างขึ้น  (4) รู้สึกเกิดพลัง

ตอบ 4 หน้า 79 (S) การรู้จักใช้ความขัดแย้งที่ไม่ขัดกันในการประกอบงานศิลปะจะทำให้งานมีเสน่ห์ ไม่ขาดรสหรือจืดชืด เพราะการตัดกันจะช่วยให้ดูไม่ซํ้าซาก และรู้สึกเกิดความแตกต่างขึ้น แต่ทั้งนี้จะต้องเข้าใจนำความกลมกลืนกับความขัดแย้งมาประกอบกันให้ลงตัว จึงจะเกิด ผลงานที่มีความงามอย่างพอเหมาะพอดี

35.       บ้านเรือนควรใช้สีใด  

(1) ชมพู ม่วง แดง

(2)       ขาว ครีม สีกระสอบ     (3) เขียวหยก คราม นํ้าเงิน      (4) เหลืองมะนาว แดง ทอง

ตอบ 2 หน้า 70-71 (S) งานสถาปัตยกรรมภายในบ้านเรือนส่วนใหญ่ มักจะนิยมใช้สีเรียบง่าย และไม่สะดุดตาจนเกินไป เพราะจะทำให้ไม่รู้สึกเบื่อง่าย เช่น สีขาว สีครีม สีเนื้อ สีกระสอบ และสีอ่อนๆ ของวรรณะเย็น ส่วนการใช้สีสดๆ เพื่อเรียกร้องความสนใจให้สะดุดสายตา มักนิยมใช้ตามอาคารทางธุรกิจ บาร์ ไนต์คลับ ฯลฯ

36.       ข้อใดคือสีตรงกันข้าม

(1) แดงส้ม ชมพูหม่น   (2) นํ้าตาลทอง ครีม (3) แดงเข้ม นํ้าเงิน (4) ขาว เทา

ตอบ3 หน้า 36,69(S) สีตรงกันข้ามหรือสีคู่จะเป็นสี่ที่ตัดกันอย่างแท้จริงซึ่งสีบางสีจะเอามาผสมกัน ไม่ได้เพราะสีจะเน่าและไม่สวย โดยสีชนิดนี้มีมากคู่ด้วยกัน เช่น สีเขียวกับสีแดงเลือดนก,สีเหลืองกับสีม่วงสีน้ำเงินกับสีส้มสีแดงกับสีเขียวนํ้าเงิน ฯล

37.       ความสมดุลที่ไม่เท่ากันมีผลให้งานศิลปะมีลักษณะอย่างไร

(1) มั่นคง น่าศรัทธา    (2) อ่อนหวาน เบาลอย (3) ก้าวร้าว รุนแรง (4) มีเสน่ห์ สนุกขึ้น

ตอบ4 หน้า 3076 (S) ความสมดุลที่ไม่เท่ากัน เป็นความสมดุลที่มิได้เท่ากันโดยแท้จริงเพราะมี การจัด,ขนาด รุปร่าง สี รูปทรง ฯล ให้มีความแตกต่างกันทั้งสองข้าง แต่ให้มีลักษณะสมดุล ด้วยตาโดยประมาณ ซึ่งจะส่งผลให้งานศิลปะมีความแปลก มีชีวิตชีวา น่าสนใจ มีเสน่ห์และ สนุกขึ้น จึงทำให้ไม่น่าเบื่อหรือไม่จืดชืดตามกฎเกณฑ์ที่วางไว้

38.       ภาพชนิดใดที่ถ่ายทอดตามความรู้สึก

(1) นามธรรม   (2) เหมือนจริง (3)       ตัดทอน            (4)       หุ่นนิ่ง

ตอบ1 หน้า 1122138 – 39 (S)57 (S) การถ่ายทอดตามความรู้สึกด้วยใจ (Abstraction)หรือการแสดงออกในศิลปะนามธรรมหรือมโนศิลป์ (Abstract) คือ การนำเอารูปทรงต่าง ๆ ที่พบเห็นในธรรมชาติมาจัดเสียใหม่ หรือปรุงแต่งดัดแปลงใหม่ ดังนั้นจึงอาจจะมีลักษณะ กึ่งธรรมาติ กึ่งนามธรรม และผิดเพี้ยนไปจากธรรมชาติอยู่บ้าง เช่น ศิลปะแบบคิวบิสม์จัดเป็นศิลปะแบบกึ่งจินตนาการที่มีลักษณะเป็นเหลี่ยม เน้นมุม และรูปทรงบิดเบี้ยว แต่ก็ยังพอพิจารณาดูรูปลักษณะได้ว่าเป็นรูปอะไร

39.       ข้อใดมิได้เกี่ยวกับจินตนาการของช่างเขียนไทยในสมัยโบราณ

(1) คชสีห์         (2) กินรี            (3)       ม้ามังกร           (4)       กิเลน

ตอบ 4 หน้า 19 (S)31 (S) จินตนาการก้าวไกลหรือความคิดเพ้อฝัน เป็นจินตนาการเหนือความจริง ที่มนุษย์ทำให้แตกต่างไปจากที่ตนเคยเห็น โดยบางทีก็ทำให้ดูลํ้าลึกน่าติดตาม หรือทำให้ชวน สงสัยว่ามีจริงหรือไม่ เป็นไปได้หรืออย่างไร เช่น การที่ช่างเขียนไทยในสมัยโบราณเขียนภาพ ลายกนก กินรี คชสีห์ นางยักษ์ ม้ามังกร หรือสัตว์ในนิยายโบราณต่าง ๆ (ส่วนกิเลนเป็นสัตว์ ในวรรณคดีจีน)

40.       การแสดงออกด้วยการตัดทอนคืออะไร

(1) ภาพเหมือนจริง      (2) ไม่ลอกเลียนธรรมชาติทั้งหมด

(3)       ภาพในชีวิตประจำวัน  (4) ตัดทอนภาพจากธรรมชาติตามความพอใจ

ตอบ 2 หน้า 1137 (S) การแสดงออกด้วยการตัดทอน (Distortion) เป็นการแสดงออกที่ศิลปิน จะไม่ลอกเลียนธรรมชาติทั้งหมด แต่จะเน้นเฉพาะส่วนสำคัญหรือจุดเด่นที่ก่อให้เกิดอารมณ์ สะเทือนใจ ส่วนที่รองลงมาหรือไม่น่าสนใจก็จะตัดทิ้งออกไป ไม่ถ่ายทอดออกมาให้เห็น

41.       ข้อใดให้ความรู้สึกมั่นคง จริงจัง

(1) เส้นตั้ง        

(2) เส้นซิกแซ็ก            

(3) เส้นเฉียง    

(4) เส้นนอน

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 16. ประกอบ

42.       ช่องไฟดี” ในงานศิลปะ หมายถึง

(1) มีแสงและเงาดี      

(2) จัดวางเส้น รูปร่าง รูปลักษณะดี

(3)       ไม่ปล่อยที่ว่างมากหรือน้อยเกินไป      

(4) จัดภาพแบ่งเป็นช่วง ๆ

ตอบ 3 หน้า 28 ช่องไฟ (Space) หมายถึง การจัดวางเส้น รูปร่าง รูปลักษณะ แสงและเงาให้มีความพอดี โดยไม่ปล่อยให้มีส่วนที่ว่างเปล่ามากหรือน้อยจนเกินไป หรืออาจกล่าวได้ว่า ความงามของศิลปกรรมจะดีขึ้นได้ก็เพราะมวลสิ่งถูกจัดขึ้นอย่างสมสัดส่วน (Proportion)ตามความคิดเห็นของศิลปิน

43.       การเรียนศิลปะวิจักษณ์ เพื่อให้ผู้เรียน

(1) สามารถวาดรูปได้ถูกต้องตามทฤษฎี         

(2) รู้จักการใช้สีในวงจรสีได้อย่างเหมาะสม

(3)       ตัดตอนความงามจากธรรมชาติแล้วนำมาเขียนเป็นรูป 

(4) ซาบซึ้งในความงามของศิลปกรรม

ตอบ 4 หน้า 3-4 จุดมุ่งหมายในการเรียนศิลปะวิจักษณ์มีดังนี้ 1. เพื่อให้เข้าใจความสัมพันธ์ของ โครงสร้างของศิลปะ 2. เพื่อให้เกิดความรู้สึกซาบซึ้งในความงามของศิลปกรรม  3.เพื่อพัฒนารสนิยม 4. เพื่อศึกษาเรื่องราวของมนุษย์ให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ สภาพสังคม ประเพณี และวัฒนธรรมของคนในอดีต

44.       สุนทรียะของธรรมชาติ หมายถึง

(1) ความงามที่เห็นได้ทั่วไป     (2) ความงามอย่างมีระเบียบ

(3)       ความสวยของสี           (4) ความหลากหลายในรูปทรง

ตอบ 2 หน้า 12 สุนทรียะในวิสัยของธรรมชาติ หมายถึง สุนทรียะแห่งความมีระเบียบและความงาม โดยธรรมชาติมักจะมีกฎแห่งสุนทรียะ ซึ่งก่อให้เกิดความมีระเบียบ ความเหมาะสมกลมกลืน และความงามอยู่ทั้งสิ้น ดังนั้นในธรรมชาติจึงมีความงาม ความสะเทือนใจ และให้ความนึกคิด แก่ผู้พบเห็นอยู่เสมอ

45.       ศาสนศิลปะ เกี่ยวข้องกับข้อใด

(1) ศิลปะอันเกิดจากความงาม           (2) ศิลปะอันเกิดจากพุทธิปัญญา

(3)       ศิลปะอันสลับซับซ้อนของธรรมชาติ    (4) ศิลปะที่เป็นแท่งรูปเหลี่ยม

ตอบ 2 หน้า 2004 (S)12 (S) ศาสนศิลปะ (Religious Art) หรืองานศิลปกรรมในลัทธิความเชื่อถือ และศาสนา ถือเป็นผลงานสร้างสรรค์ที่สูงสุดและเหนือกว่างานสร้างสรรค์ด้านอื่น ๆ เพราะเป็น งานศิลปะที่เกิดจากความซาบซึ้งทางพุทธิปัญญาที่มีคุณค่าเหนือกว่าศิลปะทั้งหลายที่มนุษย์ ได้สร้างขึ้น เช่น ประติมากรรมพระพุทธรูในศิลปะสุโขทัย ภาพเขียนพุทธประวัติ โบสถ์ วิหาร หรือศาสนสถานที่สร้างขึ้นเพื่อการบูชาต่าง ๆ เป็นต้น

46.       ศิลปะประยุกต์ หมายถึงข้อใด

(1) โต๊ะ เก้าอี้   (2) ภาพวาด    (3) รูปปั้น         (4) พิมพ์ลาย

ตอบ 1 หน้า 8 – 93 – 4 (S)127 (S) ศิลปะประยุกต์ (Applied Art) คือ ศิลปะที่ตั้งใจสร้างหรือ ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อประโยชนใช้สอย หรือเพื่อประโยชน์แก่ชีวิตประจำวันอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เครื่องประดับ (ต่างหู กำไลแขน เข็มกลัด) เครื่องจักร ผ้า เครืองหนัง เครื่องเคลือบ รวมทั้งสะพานส่งนํ้า หรือเขื่อนกั้นนํ้าของศิลปะโรมัน ฯลฯ ซึ่งอาจจะแบ่งย่อยออกไปเรียกว่า พาณิชย์ศิลป์หรืออุตสาหกรรมศิลป์” แต่ถ้าหากประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อประดับตกแต่งในอาคาร สถานที่ก็จะเรียกว่า มัณฑนศิลป์” เช่น การออกแบบเครื่องเรือน โต๊ะ เก้าอี้ ฯลฯ

47.       เมื่อคุ้นเคยกับงานศิลปะมาก ๆ สิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นกับเราอย่างไม่รู้ตัว

(1) ความซาบขึ้ง          (2) ความคิดอย่างสุขุม (3) ความสับสน          (4) ความอ่อนน้อม

ตอบ2 หน้า 21 (S) ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ได้ให้ข้อคิดว่า เด็กที่คุ้นเคยกับงานศิลปะมาก ๆหรือได้พบเห็นสิ่งประณีตสวยงามนั้น ต่อไปในอนาคตก็จะกลายเป็นของจำเป็นต่อชีวิตของเด็ก เพราะจะช่วยให้มีความคิดอ่านประณีตสุขุม นอกจากนี้ศิลปะก็ยังช่วยให้เยาวชนของชาติ กลายเป็นคนดีขึ้น และประพฤติปฏิบัติไปตามกฎแห่งศีลธรรม

48.       ข้อใดคือหลักฐานชั้น 1 ในการวิจัย    

(1) ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย

(2)       พงศาวดารโยนก         (3) โบราณวัตถุ โบราณสถาน (4) ภาพวาดทั้งสีนํ้าและสีนํ้ามัน

ตอบ 3 หน้า 7, (คำบรรยาย) นักโบราณคดีมีความเห็นว่า ศิลปกรรมเป็นสิ่งสำคัญที่จะบ่งบอกถึงความเจริญในอดีต ดังนั้นศิลปกรรม อันได้แก่ ศิลาจารึก โบราณวัตถุ และโบราณสถานต่าง ๆ ย่อมเป็นหลักฐานชั้นที่ 1 ในการวิจัยหรือการอ้างอิงทางประวัติศาสตร์ได้ดีที่สุด

49.       ข้อใดไม่ใช่วิจิตรศิลป์

(1) จิตรกรรม   (2) ประติมากรรม        (3) สถาปัตยกรรม       (4) ภาพถ่าย

ตอบ 4 หน้า 822122 (S) วิจิตรศิลป์ (Fine Art) หมายถึง จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม วรรณศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และภาพพิมพ์ ซึ่งเกิดขึ้นจากแรงบันดาลใจของธรรมชาติจนส่งเสริม ให้ศิลปินเกิดความคิดสร้างสรรค์ในงานศิลปะ หรือเป็นศิลปกรรมที่ทำขึ้นจากความสัมพันธ์กัน อย่างประณีตของเส้นและมวลสิ่งหรือสีที่มีความผสมกลมกลืนกันอย่างงดงาม

50.       ข้อใดไม่ถูกต้อง

(1) ศิลปะช่วยอบรมจิตใจของเราได้    (2) งานศิลปะมาจากสิ่งอกุศลหรือทุศีลก็ได้

(3)       ศิลปะเป็นสมบัติส่วนบุคคล   (4) เข้าใจศิลปะต้องเข้าใจธรรมขาติ

ตอบ 3 หน้า 6 (S)21 (S)85 (S) ความเข้าใจเกี่ยวกับศิลปะมีดังนี้

1. การเข้าใจศิลปะจะต้องเข้าใจ ธรรมชาติ ซึ่งเป็นสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวก่อนเป็นลำดับแรก

2. ศิลปะช่วยอบรมชักจูงจิตใจ มนุษย์ให้เกิดความรู้สึกซาบซึ้งในสุนทรียภาพ อันเป็นบ่อเกิดของความมีพุทธิปัญญา

3.         ศิลปะมีความเป็นกลางหรือเป็นสากล ซึ่งเป็นสมบัติอันน่าภาคภูมิใจของมวลชนทั่วโลก

4.         งานศิลปะอาจแสดงออกมาจากสิ่งที่เป็นกุศลหรืออกุศล (ทุศีล) ก็ได้ ฯลฯ

51.       เสาแบบไอโอนิกของกรีก มีความงามในรูปทรงอย่างไร

(1) ป้อม มีร่องคม        

(2) บาง แต่งหัวเสารูปกามเทพแบกพวงมาลัย

(3) สูงชะลูด หัวเสาเป็นรูปก้นหอย      

(4) ใหญ่โต หัวเสาเป็นดอกปาปิรัส

ตอบ 3 หน้า 121 – 122 (S) วิหารกรีกจะมีการออกแบบตกแต่งรูปทรงของเสาเป็น 3 ลักษณะ คือ

1.         แบบดอริก จะมีลักษณะใหญ่ รูปทรงป้อม มีร่องขนานกัน

2.         แบบไอโอนิก จะมีรูปทรงสูงชะลูด หัวเสาตกแต่งเป็นรูปวงก้นหอย มีร่องเสามากกว่าแบบดอริก

3.         แบบโครินเธียน จะมีรูปทรงบางกว่าแบบไอโอนิก ตกแต่งหัวเสาด้วยใบพืชคล้ายกับผักกาด

52.       เทือกเขาวินธัยแบ่งอินเดีย

(1) ให้เป็นอินเดียเหนืออินเดียใต้         

(2) ให้ออกจากประเทศต่าง ๆ ทางตอนเหนือ

(3) ให้เป็นอินเดียตะวันออกและตะวันตก       

(4) ให้เป็นอินเดียและศรีลังกา

ตอบ 1 หน้า 81 ประเทศอินเดียมีพื้นที่เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยตอนกลางของประเทศจะมีเทือกเขาวินธัย แบ่งอินเดียออกเป็นภาคเหนือและภาคใต้ ซึ่งแต่กอนนี้ภาคเหนือจะเรียกว่า แคว้นฮินดูสถาน” ส่วนดินแดนทางภาคใต้จะเรียกว่า แหลมเดคข่านหรือทักษิณบถ

53.       อิทธิพลของศิลปะอิหร่านเข้าสู่อินเดีย

(1)       2 ครั้ง   

(2) 3 ครั้ง         

(3) 4 ครั้ง         

(4) 5 ครั้ง

ตอบ 1 (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 46) ศิลปะอิหร่านได้เข้ามามีอิทธิพลต่อศิลปะอินเดียถึง 2 ครั้ง คือ เมื่อได้เข้ามาครอบครองดินแดนแถบลุ่มแม่นํ้าสินธุตั้งแต่ประมาณพุทธกาลถึง พ.ศ. 250 และต่อมาในพุทธศตวรรษที่ 17 อิหร่านก็มีอำนาจเหนืออินเดียอีกครั้ง จึงทำให้อิทธิพลของ ศิลปะอิหร่านปรากฏในศิลปะอินเดียเป็นอย่างมาก

54.       อารยธรรมอินเดียสมัยใหม่ เริ่มตั้งแต่อินเดีย 

(1) ได้รับอิทธิพลของอารยัน

(2)       ได้รับอิทธิพลของอิสลาม        (3) ได้เข้าสู่ฮินดูยุคกลาง         (4) ตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษแล้ว

ตอบ 4 (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 44) อารยธรรมอินเดียแบ่งได้ดังนี้

1. อารยธรรมแถบลุ่มแม่น้ำสินธุ (ประมาณ 1,500 ปีก่อนฅริลตกาล) ซึ่งได้แก่ วัฒนธรรมโมเหนโจดาโรและฮารัปปา 2. อารยธรรมอารยัน (ประมาณ 1,000 ปีก่อนคริสตกาล)

3.         อารยธรรมฮินดูยุคกลาง (ประมาณ พ.ศ. 1313 – 1743)

4.         อารยธรรมอิสลาม (ประมาณ พ.ศ. 1743 – 2346)

5.         อารยธรรมอินเดียสมัยใหม่ (เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2346 ซึ่งเป็นปีที่ตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ จนถึงปีปัจจุบัน)

55.       ศิลปะอินเดียเป็นศิลปะ

(1)       นามธรรม         (2) รูปธรรม      (3) แบบอุดมคติ          (4) ที่สร้างขึ้นจากธรรมชาติ

ตอบ 3 หน้า 84 ศิลปะอินเดียเป็นศิลปะแบบอุดมคติ (Idealistic Art) คือ การอาศัยรูปร่างจากธรรมชาติเป็นเกณฑ์ในการสร้างจินตนาการของศิลปิน และการแสดงออกของศิลปินก็มิได้ แสลงออกให้ตรงตามธรรมชาติ แต่เป็นไปตามกฎเกณฑ์หรือข้อบังคับของสังคมมากกว่า

56.       อารยธรรมยุคหัวเลี้ยวหัวต่อของอินเดีย         

(1) อารยธรรมโมเหนใจดาโรและฮารัปปา

(2)       อารยธรรมอารยัน       (3) อารยธรรมฮินดู      (4) อารยธรรมอิสลาม

ตอบ 1 หน้า 5985 อารยธรรมแถบลุ่มแม่น้ำสินธุ ได้แก่ วัฒนธรรมโมเหนโจดาโรและฮารัปปา ซึ่งเจริญขึ้นแถบลุ่มแม่นํ้าสินธุ และเป็นวัฒนธรรมที่เจริญขึ้นในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อระหว่าง สมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ของอินเดีย เพราะพบหลักฐานทางโบราณคดี ทั้งสองสมัย โดยโบราณวัตถุสำคัญในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่พบ คือ ตราประทับที่ทำจาก หินสบู่ในแคว้นปัญจาบและสินธุ

57.       ศาสนาพุทธเจริญขึ้นในแคว้นใดของอินเดีย

(1)       แคว้นปัญจาบ            (2) แคว้นอัสสัม           (3) แคว้นมคธ  (4) แคว้นสินธุ

ตอบ 3 หน้า 90 พระพุทธศาสนาเจริญขึ้นในอินเดียที่แคว้นมคธหรือมคธราฐในสมัยพระเจ้าพิมพิสาร และเจริญขึ้นถึงขีดสุดในสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราชราวพุทธศตวรรษที่ 3 ดังนั้นในยุคแรกเริ่ม ของการทำศิลปกรรมอินเดียนี้ พุทธศาสนาจึงมีบทบาทเป็นอย่างมาก

58.       ชาวอินเดียมีความเชื่อเรื่องเทวโลก    

(1) ผิดแปลกไปจากโลกมนุษย์

(2)       บนสวรรค์มีเพียงพระราชวังพระมหากษัตริย์เหมือนโลกมนุษย์

(3)       เหมือนกับโลกมนุษย์ทุกประการ        (4) มีเพียงภูเขาและมหาสมุทรที่เหมือนโลกมนุษย์

ตอบ 3 หน้า 83, (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 45) าวอินเดียมีความเชื่อทีเกี่ยวข้องกับโลกสัณฐาน หรือเทวโลกว่า มนุษย์โลกและเทวโลกมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ เช่น มีพระมหากษัตริย์ ซึ่งก็คือรูปเทวดา มีพระราชวังอันเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ ซึ่งก็คือเทวาลัยที่สร้างจำลอง จากเขาพระสุเมรุ นอกจากนี้ยังมีมหาสมุทร ภูเขา แม่น้ำ และประชาชน

59.       ศิลปะคันธารราฐเจริญขึ้นที่ภาคใดของอินเดีย          

(1) ตะวันตกของอินเดีย

(2)       ตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย (3) ตะวันออกของอินเดีย       (4) ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย

ตอบ 2 หน้า 93, (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 53) ศิลปะคันธารราฐ (พุทธศตวรรษที่ 6-7) เจริญขึ้นทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย โดยได้รับอิทธิพลจากศิลปะกรีกและ ศิลปะอิหร่าน ทำให้มีการสร้างพระพุทธรูปในศิลปะอินเดียขึ้นเป็นครั้งแรกในสมัยนี้ และเชื่อกันว่าพระพุทธรูปในยุคแรกเริ่มคงทำขึ้นโดยช่างกรีก

60.       พระพุทธศาสนาในอินเดียเจริญถึงขีดสุดในสมัย

(1) พระเจ้าพิมพ์สาร

(2) พระเจ้าอโศก

(3) พระเจ้าโมริยะ

(4) พระเจ้าจันทรคุปต์ที่ 2

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 57. ประกอบ

61.       สถาปัตยกรรมรุ่นแรกของอินเดียสร้างด้วย

(1)       ไม้และดินเหนียว        

(2) อิฐปูนสอ    

(3) ไม้  

(4) ดินเหนียว

ตอบ 1 หน้า 90 นักโบราณคดีให้ความเห็นว่า สถาปัตยกรรมในยุคแรกเริ่มของอินเดียนั้นคงจะสร้างด้วยดินเหนียวและไม้ซึ่งแตกสลายได้ง่าย ดังนั้นจึงไม่เหลือร่องรอยให้คนรุ่นหลังได้เห็น ทำให้สถาปัตยกรรมและศิลปกรรมเก่าสุดที่เหลืออยู่ไม่เก่าไปกว่าพุทธศตวรรษที่ 3 แม้ว่า พุทธศาสนาจะเจริญขึ้นในอินเดียตั้งแต่พุทธกาลมาแล้วก็ตาม

62.       ในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช นิยมทำพระพุทธรูป     

(1) เป็นรูปสัญลักษณ์

(2)       ลอยตัว           

(3) เหมือนภาพสลักนูนสูง       

(4) เป็นภาพสลักนูนตํ่า

ตอบ 1 หน้า 92 ศิลปะในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชนั้น แม้ว่าช่างอินเดียจะทำศิลปกรรมไว้มากมายแต่ในการสลักภาพนูนสูงแล้ว ช่างยังไม่กล้าแสดงรูปพระพุทธเจ้าเป็นภาพบุคคล แต่จะทำเป็น รูปสัญลักษณ์แทนองค์พระพุทธเจ้าในภาพเล่าเรื่องพุทธประวัติหรือชาดกเท่านั้น

63.       ศาสนสถานที่เจาะลึกเข้าไปในภูเขาเป็นผังสี่เหลี่ยมเรียกว่า

(1) ถํ้าวิหาร      

(2) ถํ้าเจติยสถาน        

(3) ถํ้าอชันตา  

(4) ถํ้าอโลร่า

ตอบ 1 หน้า 91 ศาสนสถานที่เจาะลึกเข้าไปในภูเขามีอยู่ 2 ลักษณะ คือ 1. ถํ้าวิหาร เป็นศาสนสถาน แบบเก่าที่สุด มักมีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในทำเป็นห้องเล็ก ๆ เพื่อเป็นที่พักอาศัย ของพระภิกษุ   2. ถํ้าเจดีย์สถาน มักมีแผนผังเป็นรูปไข่ ใช้เป็นที่ชุมนุมของศาสนิกชนเพื่อเคารพบูชาพระพุทธเจ้าเท่านั้น

64.       พระพุทธรูปในศิลปะอินเดียที่เจริญขึ้นตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 6-10 ที่มีแบบอย่างเป็นอินเดียอย่างแท้จริงคือศิลปะ

(1) อินเดียสมัยโบราณ            (2) คันธารราฐ (3) มธุรา          (4) อมราวดี

ตอบ 4 หน้า 959799 พระพุทธรูปอินเดียเริ่มเป็นแบบอย่างของศิลปะอินเดียอย่างแท้จริงในสมัยมธุรา (พุทธศตวรรษที่ 7-8) แต่ความเป็นอินเดียอย่างแท้จริงและลักษณะของมหาบุรุษปรากฎขึ้น อย่างครบครันในพระพุทธรูปสมัยอมราวดี (พุทธศตวรรษที่ 7-9) ซึ่งถือได้ว่ามีความงาม ตามแบบอินเดียโดยแท้ เพราะไม่เห็นลักษณะของอิทธิพลต่างชาติเลย

65.       สถูปที่เมืองสาญจีและภารทุต เป็นสถูปที่     

(1) เลียบแบบจากเนินดิน

(2) เก่าสุดของอินเดีย  (3) มีส่วนฐานสูงมาก   (4) ถูกข้อ 1 และ 2

ตอบ 4 หน้า 91-92 สถูปที่เมืองสาญจีและภารหุตของอินเดีย เป็นสถูปที่สร้างขึ้นตั้งแต่ราวพ.ศ. 400 – 550 โดยการเลียบแบบจากเนินดิน องค์สถูปเป็นรูปโอคว่ำ สร้างด้วยอิฐหรือหิน ตั้งอยู่บนฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสค่อนข้างเตี้ย ดังนั้นจึงถือเป็นสถูปที่เก่าที่สุดของอินเดียและ ได้เป็นแบบอย่างแก่สถูปในสมัยหลังต่อมาทั้งในอินเดียและเอเชียอาคเนย์

66.       พระพุทธรูปในศิลปะอินเดียทำขึ้นครั้งแรกในศิลปะ

(1)       อินเดียสมัยโบราณ     (2) คันธารราฐ (3) มถุรา          (4) อมราวดี

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 59. ประกอบ

67.       พระพุทธรูปอินเดียสมัยใดที่ได้รับอิทธิพลของกรีกและอิหร่าน          

(1) ศิลปะอินเดียสมัยโบราณ

(2)       ศิลปะคันธารราฐ        (3) ศิลปะมถุรา            (4) ศิลปะอมราวดี

ตอบ 3 หน้า 95 พระพุทธรูปอินเดียในสมัยศิลปะมถุรา นอกจากจะปรากฏมีอิทธิพลของศิลปะกรีก ที่ผ่านมาทางด้านคันธาระแล้ว ก็ยังปรากฏอิทธิพลของศิลปะอิหร่านที่ผ่านเข้ามาจากการ ขยายอำนาจของพระมหากษัตริย์แห่งอิหร่านในราชวงศ์สัสสาเนียนด้วย แต่อิทธิพลของ ศิลปะกริกและอิหร่านที่ปรากฏออกมาในศิลปะมถุราก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะช่างอินเดีย ได้พยายามดัดแปลงให้เป็นแบบอย่างของอินเดียโดยแท้

68.       ศิลปะอมราวดีเจริญขึ้นแถบลุ่มแม่นํ้าใด

(1) ลุ่มแม่น้ำสินธุ         (2) ลุ่มแม่นํ้าคงคา       (3) ลุ่มแม่น้ำยมุนา       (4) ลุ่มแม่นํ้ากฤษณา

ตอบ 4 หน้า 97 – 98 ศิลปะอมราวดี (พุทธศตวรรษที่ 7-9) เจริญขึ้นทางตอนใต้ของประเทศอินเดีย แถบลุ่มแม่นํ้ากฤษณาโดยเฉพาะที่เมืองอมราวดี นาคารชุนิโกณฑะ ชัคคัยยะเปฎะ และโคลิภายใต้ การอุปถัมภ์ของราชวงศ์สัตตวาหนะ เมื่อประมาณต้นพุทธศตวรรษที่ 6 โดยมีสถาปัตยกรรม ที่สำคัญที่สุด คือ สถูปสำหรับบรรจุพระบรมอํฐิธาตุของพระพุทธเจ้า

69.       การครองจีวรของพระพุทธรูปมถุรา

(1) ห่มคลุม จีวรเป็นริ้ว (2) ห่มเฉียง เปิดพระอังสาซ้าย ไม่มีสังฆาฏิ

(3)       ห่มเฉียง เป็ดพระอังสาขวา     (4) ห่มคลุม จีวรเรียบติดกับพระวรกาย

ตอบ 2 หน้า 95 – 96, (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 55) การครองจีวรของพระพุทธรูปมถุรา จะเป็นแบบใหม่ คือ ครองเฉพาะจีวรและสบงโดยไม่ปรากฏวามีสังฆาฏิ และมักห่มเฉียง เปิดพระอังสาซ้าย พระหัตถ์ซ้ายมักยกชายจีวรขึ้นระหว่างพระโสณี (ตะโพก) ส่วนอิทธิพล ของศิลปะอิหร่านจะปรากฏชัดในเครื่องแต่งกายของเทวรูปบางองศ์ เช่น รูปพระอาทิตย์ แต่งกายตามแบบนักรบอิหร่าน ฯลฯ

70.       การยืนเอียงตะโพกของพระพุทธรูปอินเดีย เราเห็นครั้งแรกในศิลปะใด

(1) ศิลปะคันธารราฐ   (2) ศิลปะมถุรา            (3) ศิลปะอมราวดี       (4) ศิลปะคุปตะ

ตอบ 4 หน้า 101,103 พระพุทธรูปคุปตะมีความงามตามแบบอุดมคติที่ช่างอินเดียยึดตามกฎของลักษณะ มหาบุรุษ แล้วนำมาประยุกต์เข้ากับความนึกคิดของช่างเอง ดังนั้นพระพุทธรูปจึงมีลักษณะไม่มีเพศ เป็นกึ่งมนุษย์กึ่งเทวดา มักจะแสดงเป็นภาพเต็มตัวหันด้านหน้า มีทั้งที่ยืนตรง และยืนตริภังค์ (ยืนเอียงตะโพก) เป็นครั้งแรก ซึ่งทำได้อย่างเป็นธรรมชาติ ทำให้ประติมากรรมดูมีความสง่างาม

71.       พระพุทธรูปนาคปรกเริ่มทำครั้งแรกในศิลปะอินเดีย

(1) ศิลปะคันธารราฐ   

(2) ศิลปะมถุรา            

(3) ศิลปะอมราวดี       

(4) ศิลปะคุปตะ

ตอบ 3 หน้า 121 พระพุทธรูปนาคปรกในอินเดียมีกำเนิดครั้งแรกในศิลปะอมราวดี และทำแต่เฉพาะ ในศิลปะอมราวดีเท่านั้น หลังจากนั้นจึงได้ส่งผลต่อไปยังศิลปะลังกาแบบอนุราชปุระ นอกจากนี้ยังให้อิทธิพลต่อศิลปะคุปตะและหลังคุปตะของอินเดียอีกด้วย

72.       ศิลปะอินเดียเริ่มเสื่อมลงในสมัยใด

(1) สมัยอมราวดี          

(2) สมัยคุปตะ 

(3) สมัยหลังคุปตะ      

(4) สมัยปาละ-เสนะ

ตอบ 3 หน้า 100 – 101109 ศิลปะอินเดียที่มีความงามสูงสุดในสมัยคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ 9-11) ยังคงทำต่อมาอีกจนหมดสมัยของพระเจ้ากุมารคุปต์ในพุทธศตวรรษที่ 12 หลังจากนั้น เมื่อเริ่มเข้าสู่สมัยหลังคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ 12 – 14) ศิลปกรรมก็เริ่มเสื่อมลง เพราะถึงแม้ ประติมากรรมที่ทำขึ้นจะยังคงยึดมั่นในลักษณะของมหาบุรุษ แต่ก็ไม่มีชีวิตจิตใจอีกต่อไป

73.       ศิลปะอิหร่านที่ปรากฏในศิลปะมถุรา เราเห็นได้จาก

(1)       พระพักตร์ของพระพุทธรูป      

(2) เครื่องแต่งกายของเทวรูปบางองค์

(3)       ริ้วผ้าของพระพุทธรูป   

(4) ขมวดพระเกศาของพระพุทธรูป

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 69. ประกอบ

74.       สถาปัตยกรรมในศิลปะคุปตะนิยมสร้าง       

(1) เลียนแบบจากเครื่องไม้

(2)       เลียนแบบเทวาลัยของศาสนาพราหมณ์         (3) ไว้กลางแจ้ง           (4) ถูกข้อ 2 และ 3

ตอบ 4 หน้า 102 สถาปัตยกรรมในศิลปะคุปตะจะนิยมสร้างไว้กลางแจ้ง โดยในสมัยพระเจ้าจับทรคุปต์ที่ 2 พุทธศาสนสถานในศิลปะคุปตะที่สร้างขึ้น เช่น โบสถ์ วิหาร สถูป ฯลา มักจะเลียนแบบ และได้รับอิทธิพลจากเทวาลัยของศาสนาพราหมณ์ ซึ่งลักษณะทางสถาปัตยกรรมเช่นนี้ได้ให้ อิทธิพลต่อการสร้างเจดีย์ของพม่า (Pagoda) และบุโรพุทโธของอินโดนีเซียด้วย

75.       ศิลปะอินเดียเสื่อมลงเพราะ

(1) ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์มากจนเกินไป           (2) ยึดถือธรรมชาติมากเกินไป

(3)       เน้นอุดมคติมากจนเกินไป      (4) เสื่อมลงไปเองตามธรรมชาติ

ตอบ 1 หน้า 83 – 84109 การที่สังคมอินเดียมีกฎเกณฑ์และข้อบังคับมากเกินไป ทำให้ช่างอินเดีย ไม่สามารถใช้ความคิดของตนเองในการสร้างสรรค์งานศิลปะได้อีก เพราะช่างต้องการเพียง งานศิลปะที่ตรงตามกฎเกณฑ์และข้อบังคับอันเกิดจากความเชื่อเท่านั้น จึงเป็นผลให้ศิลปะ อินเดียเสื่อมลงในที่สุด เช่น การเสื่อมลงของศิลปะคุปตะ ซึ่งเป็นศิลปะยุคทองของอินเดีย

76.       สถูปของศิลปะอินเดียสมัยใดให้อิทธิพลต่อบุโรพุทโธของอินโดนีเซีย

(1)       สมัยคันธารราฐ           (2) สมัยมถุรา  (3) สมัยอมราวดี          (4) สมัยคุปตะ

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 74. ประกอบ

77.       ศิลปะปาละ-เสนะ     

(1) นิยมหล่อรูปเคารพด้วยสำริด

(2)       นิยมสลักรูปเคารพด้วยศิลาทราย (3) นิยมทำรูปเคารพด้วยปูนปั้น (4) นิยมทำรูปเคารพด้วยดินเผา

ตอบ 1 หน้า 105 ลักษณะพิเศษของศิลปะปาละ-เสนะ คือ ประติมากรรมมักมีแผ่นหลังประกอบซึ่งมีลวดลายประดับอยู่มากมายติดอยู่กับพระพุทธรูป โดยพระพุทธรูปส่วนใหญ่ในสมัยนี้ มักเป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องที่หล่อด้วยสำริดและสร้างด้วยศิลา แต่ไม่มีความสวยงามเลย

78.       ศิลปะปาละต่างจากศิลปะเสนะ

(1) ศิลปะปาละสร้างขึ้นจากคติศาสนาพุทธมหายาน (2) ศิลปะปาละนิยมทำรูปเคารพที่มีแผ่นหลังติดอยู่

(3)       ศิลปะปาละนิยมทำรูปเคารพประทับนั่งบนอาสน์ (4) ศิลปะปาละนิยมทำมุทราต่างไปจากศิลปะเสนะ

ตอป 1 หน้า 105 ศิลปะปาละ (พุทธศตวรรษที่ 14 – 16) สร้างขึ้นเนื่องจากคติศาสนาพุทธมหายาน ที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาฮินดู คือ ลัทธิตันตระหรือวัชรยาน ดังนั้นจึงปรากฏมีรูปพระโพธิสัตว์ รูปเทพ และรูปศักติ (พระมเหสีของเทพ) แต่ต่อมาในสมัยศิลปะเสนะ (พุทธศตวรรษที่ 16 – 18) ได้กลับไปนับถือศาสนาฮินดู จึงทำให้ศิลปกรรมในสมัยนี้เต็มไปด้วยเทพทางศาสนาฮินดู

79.       ลัทธิศักติหมายถึงลัทธิหนึ่งที่บูชา

(1)       พระศิวะ          (2) พระนารายณ์         (3) พระมเหสีของเทพ (4) พระอุมา

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 78. ประกอบ

80.       ศิลปะอินเดียสมัยใดที่ไม่นิยมรูปเคารพ         

(1) ศิลปะอินเดียสมัยโบราณ

(2)       ศิลปะอมราวดี            (3) ศิลปะปาละ-เสนะ (4) ศิลปะอิสลาม

ตอบ 4 หน้า 106 – 107 ศิลปะอิสลาม (พุทธศตวรรษที่ 18 – 23) จะไม่นิยมทำรูปเคารพแต่อย่างใด ดังนั้นจึงไม่ปรากฏว่ามีรูปเคารพที่เป็นประติมากรรมเลย แต่สิ่งที่เหลือให้ชื่นชมและมีความงาม ที่แปลกใหม่ คือ จิตรกรรมและสถาปัตยกรรม

ข้อ 81. – 100. ถ้าเห็นว่าถูกต้องให้ระบายตัวเลือก 2 ถ้าเห็นว่าผิดให้ระบายตัวเลือก 4

81.       เราเรียนรู้เรื่องของสีจากธรรมชาติได้

ตอบ 2 หน้า 3366 (S) มนุษย์สามารถพบสีต่าง ๆ ปรากฏอยู่ทั่วไปในธรรมชาติ ดังนั้นศิลปินในสมัยโบราณจึงสามารถเรียนรู้เรื่องของสีได้จากการนำวัสดุในธรรมชาติมาใช้เป็นสีสำหรับขีดเขียน เช่น สีขาวก็ใช้ดินขาวหรือปูนขาวสีเหลืองและสีแดงก็เอามาจากดินเหลืองหรือดินแดง,สีดำก็เอามาจากเขม่าไฟหรือหมึก ฯลฯ

82.       นักปรัชญาในยุคปัจจุบันมีความเห็นเกี่ยวกับเรื่องของศิลปะเหมือนนักปรัชญาในยุคโบราณ

ตอบ 4 หน้า 5-6 นักปรัชญาสมัยเก่ามักจะกล่าวถึงศิลปะว่ามีพื้นฐานมาจากความงามและความดี ในขณะที่นักปรัชญาในยุคปัจจุบันกลับมีความเห็นเกี่ยวกับเรื่องของศิลปะแตกต่างไปจาก นักปรัชญาสมัยเก่า โดยกล่าวว่า ศิลปะคือการสะท้อนความจริงของชีวิตตามที่เป็นอยู่จริง และความแท้จริงนั้นก็คือความงาม ซึ่งความงามของศิลปะอาจจะหมายถึงการพรรณนา เรื่องราวในชีวิตทั้งในแง่ดีและไม่ดีก็ได้

83.       คนเราจะพัฒนารสนิยมได้ต้องรู้จักเอาใจใส่ในสิ่งรอบ ๆ ตัว และปรับปรุงตัวเสมอ

ตอบ 2 หน้า 4 รสนิยมของคนเราทุกคนจะพัฒนาไปตามวัย และย่อมมีพัฒนาการไปในทางที่ดีขึ้น ถ้าเรารู้จักศึกษาและหาประสบการณ์ใหม่ ๆ พร้อมทั้งรู้จักเอาใจใส่ในสิ่งรอบ ๆ ตัว และ เปลี่ยนแปลงปรับปรุงตัวอยู่เสมอ โดยนักปราชญ์และศิลปินทั้งหลายให้ความเห็นว่า ความรู้สึก ซาบซึ้งและเข้าใจในศิลปะหรือการประจักษในด้านความงาม เป็นสิ่งสำคัญที่สุดที่จะช่วยพัฒนา รสนิยมของคนให้ดีขึ้นได้

84.       ความหมายของศิลปะ คือ ความดีและความงาม

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 82. ประกอบ

85.       การแสดงออกเป็นกระบวนการสำคัญของงานศิลปะ

ตอบ 2 หน้า 10 การแสดงออก (Expression) ถือเป็นกระบวนการขั้นสุดท้ายที่มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์งานศิลปะอย่างยิ่ง กล่าวคือ ถ้าเกิดอารมณ์สะเทือนใจจนก่อให้เกิดมโนภาพขึ้นในจิตใจแต่มิได้แสดงออก งานศิลปะก็ไม่อาจสร้างสรรค์ขึ้นได้

86.       ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ มีส่วนทำให้รูปแบบของศิลปะแตกต่างกันไป

ตอบ 2 หน้า 1619 สภาพแวดล้อม (ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ฯลฯ) วัสดุที่นำมาใช้ สภาพสังคม ประเพณี และระบบการปกครองที่แตกต่างกัน ย่อมมีผลทำให้แบบอย่างและรูปแบบของ งานศิลปะแตกต่างกันไปด้วย เช่น ในประเทศทีฝนตกชุกก็นิยมทำหลังคายื่นยาวออกมาเพื่อกันแดดและคุ้มฝน ส่วนประเทศที่แห้งแล้งก็มักทำหลังคางอนโค้งเพื่อรองรับนํ้าฝน เป็นต้น

87.       อุตสาหกรรมศิลป์ ได้แก่ เครื่องหนัง เครื่องเคลือบ

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 46. ประกอบ

88.       จิตรกรรมจัดเป็นศิลปะกินระวางเนื้อที่

ตอบ 2 หน้า 840 ศิลปะกินระวางเนื้อที่ (Space Art) บางครั้งกิเรียกว่า ทัศนศิลป์” (Visual Art or Plastic Art) หมายถืง ศิลปะที่จำกัดระวางเนื้อที่ส่วนใดส่วนหนึ่งในอากาศด้วยปริมาตรของศิลปะเหล่านั้น ซึ่งได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม เป็นต้น

89.       จุดมุ่งหมายหนึ่งในการเรียนศิลปะ คือ เรียนเพื่อให้เข้าใจเรื่องราวของมนุษย์นั่นเอง

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 43. ประกอบ

90.       ศิลปะเป็นงานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ที่มีธรรมชาติและสิ่งอื่น ๆ เป็นแรงบันดาลใจ

ตอบ 2 หน้า 91941 (S) แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์งานศิลปะไม่ใช่มาจากธรรมชาติแต่เพียง อย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับปีจจัยอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น ศาสนาและความเชื่อถือ ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ วัสดุที่นำมาใช้ ตลอดจนสังคมและระบบการปกครอง

91.       วีนัส เดอ ไมโล เป็นผลงานประติมากรรมชั้นเยี่ยมของศิลปะโรมัน

ตอบ 4 หน้า 123 – 124 (S) ศิลปกรรมกรีกในสมัยหลังจะนิยมสร้างประติมากรรมตามเทพนิยาย และชีวิตจริง โดยแสดงกายวิภาคของมนุษย์และสัตว์อย่างชัดเจน เปิดเผยรูปทรงอย่างบริสุทธิ์ โดยปราศจากเครื่องนุ่งห่ม เน้นในเรื่องความงามของรูปทรง และแสดงความอ่อนหวานมีชีวิตจิตใจ มากกว่ารูปประติมากรรมในระยะแรก เช่น รูปปั้นวินัส เดอ ไมโล (Venus De Milo) ซึ่งถือเป็น ผลงานชั้นเยี่ยมของศิลปะกรีกที่มีความงามเป็นเลิศ

92.       ความงามของศิลปกรรมกรีก คือ ดวงตาใหญ่ มองตรงไปข้างหน้า

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 24. และ 91. ประกอบ

93.       สถาปัตยกรรมโรมันมักประกอบไปด้วยลวดลายตกแต่งมากมาย

ตอบ 4 หน้า 126 – 127 (S) สถาปัตยกรรมโรมันจะมีลักษณะทึบตัน ใหญ่โต มั่นคง แข็งแรง มีการ จัดวางผังเมืองอย่างเป็นระเบียบสวยงาม และมีโครงสร้างแบบเรียบง่ายโดยไม่ประดับตกแต่ง มากนัก ซึ่งถือเป็นการแสดงออกในลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง

94.       จิตรกรรมในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ เรามักพบในถํ้า

ตอบ 2 หน้า 49-51 จิตรกรรมในสมัยโบราณก่อนประวัติศาสตร์มักพบตามถํ้า เช่น ตามผนังถํ้า และเพดานถํ้าที่อยู่ลึกจากปากถํ้าเข้าไป บางครั้งจึงเรียกว่า ศิลปะถ้ำ” โดยถํ้าแรกสุดที่พบ จิตรกรรมภาพเขียนของคนก่อนประวัติศาสตร์ที่เก่าที่สุด คือ ถํ้า Altamira ที่อยู่ทางตอนเหนือของสเปน โดยพบภาพเขียนเป็นภาพกวางตัวเมีย ส่วนที่ถํ้า Laussel ในฝรั่งเศส ได้พบภาพเขียน เป็นภาพสัตว์ เช่น รูปม้า วัวไบซัน และกวาง

95.       ภาพเขียนกวางตัวเมียอยู่ในถํ้าทางตอนเหนือของสเปน

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 94. ประกอบ

96.       ประติมากรรมยุคโบราณนิยมทำเป็นรูปผู้หญิง เพราะนับถือผู้หญิงเป็นใหญ่

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 20. ประกอบ

97.       พวกอารยันย่อมมีความเกี่ยวพันกับพระเวทมาก

ตอบ 2 หน้า 90 เมื่อชาวอารยันได้เข้ามายึดครองดินแดนแถบลุ่มแม่น้ำสินธุและคงคา ก็ได้นำ คัมภีร์พระเวทเข้ามาเผยแพร่ในอินเดียด้วย ซึ่งคัมภีร์พระเวทนี้มีอิทธิพลต่อคติความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี ตำนานเก่าแก่ และนิยายพื้นเมืองของชาวอารยันมาก

98.       แหล่งก่อนประวัติศาสตร์สำคัญที่สุดของไทย คือ เชียงราย

ตอบ 4 หน้า 112 (S), (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 40) แหล่งศิลปะกรรมก่อนประวัติศาสตร์ ที่มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักกันทั่วโลกแห่งหนึ่งของไทย คือ ศิลปะบ้านเชียง ซึ่งเป็นศิลปกรรม ในสมัยหินใหม่ตอนปลายที่พบมากที่ตำบลบ้านเชียง อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี

99.       สมัยก่อนประวัติศาสตร์ของอินเดียรู้จักโลหะเพราะพวกโรมันนำเข้ามา

ตอบ 4 (AR 103เลขพิมพ์ 30175 หน้า38) หลักฐานในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ของอินเดียเก่าสุด มีเพียงแค่สมัยหินกลาง แต่วัฒนธรรมของคนก่อนประวัติศาสตร์ก็ได้เจริญสืบเนื่องต่อกันมา จนถึงยุคโลหะ โดยชาวอินเดียได้เรียนรู้การใช้โลหะเหล็กจากชาวเมโสโปเตเมีย จึงปรากฏว่า มีอาวุธแบบแปลกใหม่ที่ทำจากเหล็กและสำริดอีกมาก เช่น การทำหัวลูกศร มีด ดาบ และ ภาชนะเครื่องสำริด

100.    ก่อนประวัติศาสตร์ของอินเดียเก่าสุดเพียงสมัยหินกลางเท่านั้น

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 99. ประกอบ

ART1003 ศิลปะวิจักษณ์ การสอบไล่ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2556

การสอบไล่ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2556

ข้อสอบกระบวนวิชา ART 1003 ศิลปะวิจักษณ์

คำสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว (ข้อสอบมีทั้งหมด 100 ข้อ)

1.         สถาปัตยกรรมในสมัยทวารวดีมีลักษณะอย่างไร      

(1) มีศาสนสถาน

(2)       มีเทวาลัย         

(3) มีเจดีย์เท่านั้น         

(4) มีกำแพงแก้วล้อมรอบ

ตอบ 3 หน้า 124 – 125162 (S) สถาปตยกรรมในสมัยทวารวดีจะเห็นได้จากรูปเจดีย์เท่านั้นเพราะไม่ปรากฏว่ามีโบสถ์วิหารหลงเหลืออยู่แต่อย่างใด เช่น พระเจดีย์จุลประโทนและเจดีย์ วัดพระเมรุ จ.นครปฐม ซึ่งเป็นซากอาคารใหญ่ก่อด้วยอิฐ บางครั้งย่อมุมและมีบันไดลงไปข้างล่างเจดีย์วัดกู่กุด จ.ลำพูน ซึ่งจัดเป็นสถาปัตยกรรมทวารวดีตอนปลาย ฯลฯ

2.         เจดีย์จุลประโทน จังหวัดนครปฐม เป็นศิลปะสมัยใด

(1)       ทวารวดี           

(2) ศรีวิชัย       

(3) สุโขทัย       

(4) อยุธยา

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 1. ประกอบ

3.         ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์เริ่มต้นในข้อใด

(1)       พระเจ้าตากสินตั้งกรุงธนบุรีเป็นราชธานี

(2)       พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกตั้งกรุงเทพฯ เป็นราชธานี

(3)       พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นครองราชย์

(4)       พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นครองราชย์

ตอบ 2 หน้า 156 ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์เจริญขึ้นทางภาคกลางของไทย โดยเริ่มตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงสถาปนากรุงเทพมหานครขึ้นเป็นราชธานี ตั้งแต่ พ.ศ. 2325 จนถึงปัจจุบัน

4.         พระพุทธรูปขัดสมาธิราบ คือข้อใด

(1)       ประทับขัดสมาธิ เห็นฝ่าพระบาทสองข้าง พระหัตถ์ประสานกันบนพระเพลา

(2)       ประทับขัดสมาธิ เห็นฝ่าพระบาทข้างเดียว พระหัตถ์ประสานกันบนพระเพลา

(3)       ประทับขัดสมาธิ เห็นฝ่าพระบาทสองข้าง พระหัตถ์ทำท่าประคองพระธรรมจักร

(4)       ประทับนั่งสมาธิ เห็นฝ่าพระบาทข้างเดียว พระหัตถ์ทำท่าประคองพระธรรมจักร

ตอบ 2 หน้า 139 – 140 พระพุทธรูปขัดสมาธิราบ คือ พระพุทธรูปในท่าประทับนั่งขัดสมาธิ เห็นฝ่าพระบาทเพียงข้างเดียว พระหัตถ์ประสานกันบนพระเพลา บางครั้งมีฐานเรียบ ไม่มีลวดลายประกอบ ส่วนพระพุทธรูปขัดสมาธิเพชร คือ พระพุทธรูปในท่าประทับนั่งขัดสมาธิ เห็นฝ่าพระบาททั้งสองข้าง มีฐานเป็นบัวควํ่าบัวหงายและมีเกสรบัวประดับ

5.         พระพุทธรูปสุโขทัยที่งามที่สุด คือปางใด

(1)       ปางสมาธิ        (2) ปางมารวิชัย           (3) ปางอภัยทาน         (4) ปางลีลา

ตอบ 4 หน้า 144 ศิลปะสมัยสุโขทัยจัดเป็นศิลปะยุคทองของพระพุทธรูปไทย เนื่องจากประติมากรรม พระพุทธรูปสมัยนี้จะมีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะแบบ คือ มีความสวยงามสง่า และมีความ เรียบง่ายตามอุดมคติผิดไปจากศิลปกรรมในสมัยอื่น ๆ โดยพระพุทธรูปสุโขทัยที่มีความงามที่สุด ได้แก่ พระพุทธรูปปางลีลาสำริด ซึ่งปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่ระเบียงวัดเบญจมบพิตร

6.         พระพุทธรูปองค์ใดไม่มีพระเกตุมาลา 

(1) พระพุทธสัมพรรณี

(2)       พระนิรันตราย (3) พระพุทธรูปทรงเครื่อง        (4) ถูกทั้งข้อ 1 และ 2

ตอบ 4 หน้า 157190(S) ในสมัยรัชกาลที่4ทรงคิดแบบอย่างพระพุทธรูปขึ้นใหม่ และโปรดฯให้ หล่อพระพุทธรูปที่มีลักษณะเหมือนมนุษย์มากยิ่งขึ้น คือ ไม่มีพระเกตุมาลา และให้จีวรเป็นริ้ว แต่ก็ยังไม่เป็นที่นิยมกับมากนัก เช่น พระพุทธสัมพรรณี และพระนิรันตราย

7.         ข้อใดไม่ใช่ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์

(1)       จิตรกรรมในวัดคงคาราม จ.ราชบุรี      (2) จิตรกรรมที่วัดวัง จ.พัทลุง

(3)       จิตรกรรมในวัดอินทาราม จ.ชลบุรี      (4) จิตรกรรมในวัดใหญ่สุวรรณาราม จ.เพชรบุรี ตอบ 4 หน้า 154 – 155160 จิตรกรรมฝาผนังสมัยรัตนโกสินทร์ที่เก่าสุด คือ จิตรกรรมฝาผนังที่พระที่นังพุทไธสวรรย์ ในบริเวณพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นอกจากนี้ยังได้พบจิตรกรรมที่มี ความสวยงามอีกมากมาย เช่น จิตรกรรมในพระอุโบสถวัดดุสิตารามจิตรกรรมในวิหารหลวงที่วัดสุทัศน์เทพวนาราม กรุงเทพฯจิตรกรรมในวัดคงคาราม จ.ราชบุรีจิตรกรรมที่วัดวัง จ.พัทลุงจิตรกรรมที่พระอุโบสถวัดอินทาราม จ.ชลบุรี เป็นต้น (ส่วนจิตรกรรมในวัดใหญ่สุวรรณาราม จ.เพชรบุรี เป็นศิลปะสมัยอยุธยา)

8.         พระพุทธรูปขัดสมาธิเพชร คือ

(1)       พระพุทธรูปที่นั่งในท่าขัดสมาธิ เห็นฝ่าพระบาททั้งสองข้าง

(2)       พระพุทธรูปที่นั่งในท่าขัดสมาธิ เห็นฝ่าพระบาทข้างเดียว

(3)       พระพุทธรูปนั่งห้อยพระบาท   (4) ถูกทั้งข้อ 1 และ 2

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 4. ประกอบ

9.         ศิลปะของไทยสมัยใดที่นิยมสร้างสถาปัตยกรรมด้วยศิลาแลง

(1) ศิลปะลพบุรี           (2) ศิลปะสุโขทัย         (3) ศิลปะอยุธยา         (4) ถูกทั้งข้อ 1 และ 2

ตอบ 4 หน้า 136148 สถาปัตยกรรมลพบุรีมักจะก่อด้วยศิลาแลงและสร้างเป็นเทวาลัยบนเชิงเขาสูง ส่วนสถาปัตยกรรมสุโขทัยที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะลพบุรีก็มักจะก่อด้วยศิลาแลงเช่นกัน เช่น พระปรางค์วัดพระพายหลวง หรือศาลตาผาแดง จ.สุโขทัย

10.       ประติมากรรมนูนต่ำ คือข้อใด

(1) ภาพปูนปั้นที่เจดีย์จุลประโทน       (2) ลายจำหลักบนใบเสมา

(3)       เหรียญห้าบาทไทย      (4) พระพุทธรูปบนฐานเตี้ย

ตอบ 3 หน้า 41 – 42 ประติมากรรม คือ ศิลปะกรรมซึ่งเป็นรูปทรงสามมิติ มีการกินที่ในอากาศแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่

1. ประติมากรรมนูนต่ำ คือ รูปที่ปั้นหรือแกะสลักให้ยื่นออกมา จากแผ่นหลัง โดยมีพื้นแบนราบเสมอกันทั่วทั้งองค์ประกอบ เช่น เหรียญเงินตราต่าง ๆ ฯลฯ

2.         ประติมากรรมนูนสูง คือ รูปปั้นหรือแกะสลักที่นูนออกมาจนเกือบหลุดออกจากแผ่นหลัง

3.         ประติมากรรมลอยตัว คือ รูปปั้นที่ไม่มีแผ่นหลัง สามารถดูได้รอบด้านและทุกระดับแนวดู

11.       พระพุทธรูปนิรันตราย ทำขึ้นในสมัยใด

(1) รัชกาลที่ 1  

(2) รัชกาลที่ 2  

(3) รัชกาลที่ 3  

(4) รัชกาลที่ 4

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 6. ประกอบ

ข้อ 12. – 16. ข้อใดตรงกับคำตอบที่กำหนดให้ข้างล่างนี้

(1)       เพลโต  (2) ลียอป ตอลสตอย  (3) ศิลป์ พีระศรี

(4)       โสเครตีส          (5) ศิลปะสมัยโบราณ

12.       ศิลปะเป็นความงามที่ได้จากธรรมชาติและต้องมีผลในการเสริมสร้างด้านจิตใจด้วย

ตอบ 4 หน้า 5 โสเครติส (Socrates) ได้ให้ความหมายของศิลปะว่า ศิลปะเป็นความงามที่ได้จาก ธรรมชาติและต้องมีผลในการเสริมสร้างทางด้านจิตใจด้วย

13.       ศิลปะที่มีแต่ความประณีต ความงาม ความบันเทิงใจ ไม่ใช่ศิลปะ แต่เป็นเพียงงานฝีมือ

ตอบ 2 หน้า 5-6 ลียอป ตอลสตอย (Lyof Talstoy) กล่าวถึงความหมายของศิลปะว่า ศิลปะที่มี แต่ความประณีต ความงาม และความบันเทิงเริงใจนั้นหาใช่เป็นศิลปะไม่ แต่เป็นเพียงงานฝีมือ เพราะเป็นงานที่ขาดเงื่อนไขที่จำเป็นอย่างยิ่งของศิลปะ

14.       ผู้ใดเข้าใจและรู้คุณค่าของศิลปะ ผู้นั้นก็อาจจะถึงซึ่งความสุขที่แท้จริง

ตอบ 3 หน้า 6 ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระครี ได้ให้ความหมายของศิลปะว่า ศิลปะเป็นสะพานที่เชื่อม คติความเชื่อทางวัตถุกับทางจิตใจ เมื่อผู้ใดเข้าใจและรู้คุณค่าของศิลปะแล้ว ผู้นั้นก็อาจจะถึง ซึ่งความสุขที่แท้จริง

15.       ศิลปะเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ

ตอบ 1 หน้า 6 เพลโต (Plato) มีความเห็นเกี่ยวกับศิลปะว่า ศิลปะเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ ผู้ที่จะเข้าใจและนิยมความงามในศิลปะได้มีเพียงนักปรัชญาเท่านั้น

16.       ศิลปะมิได้สร้างขึ้นเพื่อความสวยงามหรืออวดสติปัญญา

ตอบ 5 หน้า 14 การสร้างงานศิลปะในสมัยโบราณนั้นมิได้สร้างขึ้นมาเพื่อความสวยงาม หรือเพื่ออวดสติปัญญาแต่อย่างใด หากแต่สร้างขึ้นมาเพื่อความสบายใจหรือเพื่อแสดงถึง ความกตัญญูที่มีต่อธรรมชาติที่เป็นประโยชน์ต่อพวกเขาในการดำรงชีพ เช่น ให้ผลผลิต ให้นํ้า ให้แสงแดด ฯลฯ

17.       จังหวัดในข้อใดไม่ปรากฏศิลปะทวารวดี

(1)       นครปฐม ราชบุรี          (2) ลำพูน กาฬสินธุ์

(3) สุพรรณบุรี ลพบุรี   (4) สุราษฎร์ธานี สงขลา

ตอบ 4 หน้า 119 – 120 ศิลปะทวารวดีปรากฏทั่วไปในประเทศไทยทั้งภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น นครปฐม ราชบุรี สุพรรณบุรี ลพบุรี ลำพูน นครศรีธรรมราข กาฬสินธุ์ ฯลฯ ซึ่งจะมีลักษณะของศิลปกรรมที่แตกต่างกันไปตามลักษณะเฉพาะของแต่ละท้องถิ่น

18.       คาถา เย ธมฺมาฯ ปรากฏในศิลปะแบบใด

(1)       ศิลปะทวารวดี (2) ศิลปะศรีวิชัย

(3) ศิลปะลพบุรี           (4) ศิลปะสมัยสุโขทัย

ตอบ 1 หน้า 124129 พระพิมพ์ของศิลปะทวารวดีมักสร้างด้วยดินเผาเพื่อไว้สืบพระบวรพุทธศาสนา โดยมักมีพระธรรมหรือคาถา เย ธมฺมาฯ อันเป็นหัวใจของศาสนาปรากฏอยู่ ซึ่งจะแตกต่างจาก พระพิมพ์ของศิลปะศรีวิชัยที่มักทำขึ้นจากคติทางมหายาน โดยนิยมทำเป็นพระพิมพ์ดินดิบ เพราะไม่ได้ถือการสืบพระพุทธศาสนาเป็นที่ตั้ง แต่ถือปรมัตถประโยชน์ของผู้มรณภาพไปแล้ว

19.       ข้อใดไม่ใช่สถาปัตยกรรมสมัยทวารวดี

(1)       เจดีย์จุลประโทน          (2) เจดีย์วัดพระเมรุ     (3) เจดีย์วัดกู่กุด          (4) เจดีย์วัดเจ็ดแถว

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 1. ประกอบ

20.       พระปรางค์วัดสองพี่น้อง อำเภอสรรค์บุรี จังหวัดจัยนาท เป็นศิลปกรรมสมัยใด

(1)       ศิลปะสมัยทวารวดี      (2) ศิลปะสมัยศรีวิชัย  (3) ศิลปะสมัยลพบุรี   (4) ศิลปะสมัยเชียงแสน

ตอบ 1 หน้า 129 – 130 ศิลปะสมัยทวารวดีที่ไดัรับอิทธิพลจากศิลปกรรมสมัยศรีวิชัยจะเห็นได้จาก สถาปัตยกรรมทางตอนเหนือหลายแห่ง เช่น พระปรางค์วัดสองพี่น้อง อ.สรรค์บุรี จ.ชัยนาท และเจดีย์วัดป่าสัก อ.เชียงแสน จ.เชียงราย โดยลวดลายปูนปั้นที่ประดับองค์ปรางค์ก็น่าจะได้รับ อิทธิพลจากศิลปะศรีวิชัยเช่นกัน

21.       พระพุทธรูปเชียงแสนรุ่นแรกได้รับอิทธิพลจากศิลปะใด

(1)       ศิลปะคุปตะ    

(2) ศิลปะปาละ           

(3) ศิลปะลังกา           

(4) ศิลปะอู่ทอง

ตอบ 2 หน้า 139 พระพุทธรูปเชียงแสนรุ่นแรก (สมัยเชียงแสนหรือสมัยล้านนา) จะได้รับอิทธิพล จากศิลปะปาละอย่างชัดเจน คือ รัศมีเป็นรูปดอกบัวตูม ขมวดพระเกศาใหญ่ พระพักตร์กลม อมยิ้ม พระหนุเป็นปม พระองค์อวบอ้วน พระอุระนูน ชายจีวรสั้นเหนือพระถันที่ปลายเป็นลายเขี้ยวตะขาบ และมักนิยมหล่อเป็นสำริดในท่าประทับนั่งขัดสมาธิเพชร ปางมารวิชัย

22.       พระพุทธรูปนาคปรกสำริดปางมารวิชัย ที่วัดเวียง อำเภอไชยา ได้รับอิทธิพลศิลปะประเภทใด

(1)       ศิลปะทวารวดี 

(2) ศิลปะลพบุรี           

(3) ศิลปะสุโขทัย         

(4) ศิลปะอยุธยา

ตอบ 2 หน้า 129 ประติมากรรมพระพุทธรูปนาคปรกในศิลปะศรีวิชัย จะได้รับอิทธิพลจากศิลปะลพบุรี เช่น พระพุทธรูปนาคปรกสำริดปางมารวิชัย พบที่วัดเวียง อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี และที่ อ.สทิงพระ จ.สงขลา ก็ได้พบรูปเคารพอีกมากมาย เช่น รูปท้าวกุเวร รูปพระอิศวร เป็นต้น

23.       พระพิมพ์ดินดิบ นิยมทำตามศิลปะสมัยใด

(1)       ศิลปะทวารวดี 

(2) ศิลปะศรีวิชัย         

(3) ศิลปะอยุธยา         

(4) ศิลปะรัตนโกสินทร์

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 18. ประกอบ

24.       ภาพสลักลายเส้นบนแผนหินที่วัดศรีชุม จังหวัดสุโขทัย ได้รับอิทธิพลจากศาสนาใด

(1)       ศาสนาพราหมณ์         (2) ศาสนาฮินดู

(3) ศาสนาพุทธนิกายลังกาวงศ์          (4) ศาสนาพุทธนิกายมหายาน

ตอบ 3 หน้า 130 ภาพสลักลายเส้นบนแผ่นหินที่วัดศรีชุม จ.สุโขทัย เป็นฝีมือของศิลปินในช่วง กลางพุทธศตวรรษที่ 19 ซึ่งเชื่อกันว่าภาพนี้คงได้รับอิทธิพลจากศาสนาพุทธนิกายลังกาวงศ์ และยังคงความเป็นอินเดียอย่างเห็นได้ชัดโดยอาจจะเป็นต้นเค้าของจิตรกรรมฝาผนังของไทยก็ได้

25.       พระพักตร์สี่เหลี่ยม คิ้วเกือบเป็นเส้นตรง มีไรพระศก พระเกตุมาลามักเป็นกลีบบัวซ้อนกันเป็นลักษณะของพระพุทธรูปศิลปะสมัยใด

(1)       ศิลปะสุโขทัย   (2) ศิลปะอยุธยา         (3) ศิลปะลพบุรี           (4) ศิลปะเชียงแสน

ตอบ 3 หน้า 135 ลักษณะเฉพาะของศิลปะลพบุรี คือ พระพุทธรูปและพระโพธิสัตว์มีพระพักตร์สี่เหลี่ยม คิ้วเกือบเป็นเส้นตรง ซึ่งถ้ามีอายุตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 16 ลงมามักมีไรพระศก (เส้นนูนเหนือ หน้าผาก) พระเกตุมาลาเป็นกลีบบัวซ้อนกันขึ้นเป็นชั้น ๆ และมีพระรัศมีเป็นดอกบัวตูมอยู่ข้างบน

26.       ข้อใดไม่ใช่พระปรางค์แบบขอมในสมัยอยุธยา

(1) พระปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก         (2) พระปรางค์วัดพุทไธสวรรย์

(3) พระปรางค์วัดราชบูรณะ วัดมหาธาตุ จังหวัดอยุธยา         (4) พระปรางค์วัดพระศรีสรรเพชญ์

ตอบ 4 หน้า 153 ศิลปกรรมสมัยอยุธยายุคที่ 1 เริ่มตั้งแต่สมเด็จพระเจ้าอู่ทองขึ้นครองราชย์สมบัติ ในปี พ.ศ. 1893 จนถึงสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถในปี พ.ศ. 2031 โดยศิลปกรรมในยุคนี้ จะสร้างตามแบบอย่างศิลปะลพบุรี และนิยมสร้างพระปรางค์แบบขอม เช่น พระปรางค์วัด พระศรีรัตนมหาธาตุ จ.พิษณุโลกพระปรางค์วัดพุทไธสวรรย์พระปรางค์วัดราชบูรณะ และ พระปรางค์วัดมหาธาตุ จ.อยุธยา เป็นต้น

27.       พระพุทธรูปทรงเครื่อง เป็นสัญลักษณ์ของผู้ใด         

(1) พระสมณโคดมพุทธเจ้า

(2)       พระทีปังกรพุทธเจ้า    (3) พระศรีศากยทศพลญาณ  (4) พระศรีอาริยเมตไตรย

ตอบ 4 หน้า 153 – 154 ศิลปะอยุธยานิยมทำพระพุทธรูปทรงเครื่องกันมาก ทั้งนี้โดยหมายเอาว่าเป็นสัญลักษณ์ของพระศรีอารียเมตไตรยที่จะทรงตรัสรู้ในภพหน้า จึงมักทำพระพุทธรูปอย่าง พระพุทธเจ้าทรงจำแลงองค์เป็นพระจักรพรรดิเพื่อปราบท้าวพระยามหาชมพู แต่อาจจะมี ลักษณะผิดแปลกไปจากพระพุทธรูปทรงเครื่องของศิลปะลพบุรี คือ พระพุทธรูปทรงเครื่อง ของศิลปะอยุธยาจะมีทั้งทรงเครื่องใหญ่และทรงเครื่องน้อย

28.       สถาปัตยกรรมแบบลพบุรีที่สมบูรณ์ที่สุดในอิทธิพลของศิลปะเขมร คือที่ใด

(1) วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดลพบุรี        (2) ปราสาทภูมิโพน จังหวัดสุรินทร์

(3)       ปราสาทเมืองสิงห์ จังหวัดกาญจนบุรี (4) ทับหลังวัดทองทั่ว จังหวัดจันทบุรี

ตอบ 2 หน้า 137 สถาปัตยกรรมแบบลพบุรีที่สมบูรณ์ที่สุดในอิทธิพลของศิลปะเขมร คือ ปราสาทภูมิโพน อ.สังขะ จ.สุรินทร์ ซึ่งจัดเป็นปราสาทไพรกเมง และปรางค์กู่วัดพระโกณาที่สร้างขึ้นจากคติใน ศาสนาพราหมณ์ โดยลวดลายที่ทับหลังและลักษณะของปรางค์เป็นศิลปะลพบุรีที่ได้รับอิทธิพล จากศิลปะปาปวนของเขมร ซึ่งมีอายุอยู่ราว พ.ศ. 1550 – 1650 ในสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 ของเขมร

29.       ข้อใดไม่ใช่วัสดุที่นิยมนำมาทำพระพิมพ์ของศิลปะเชียงแสน

(1) ดีบุก           (2)       ทองแดง           (3)       ศิลา     (4)       ถูกทั้งข้อ 1 และ 2

ตอบ 3 หน้า 141 พระพิมพ์ของศิลปะเชียงแสนไม่สลักด้วยศิลา แต่มักนิยมหล่อด้วยโลหะ ซึ่งมักเป็น ดีบุกและทองแดงที่ได้จากแถบยูนนานและทางภาคเหนือของไทย แต่จะไม่มีคาถา เย ธมมา สลักไว้ด้านหลังเหมือนพระพิมพ์สมัยทวารวดี จึงแสดงให้เห็นว่าคงไมมีวัตถุประสงค์ที่จะทำขึ้น เพื่อสืบต่อพระพุทธศาสนา

30.       รัศมีเป็นรูปดอกบัวตูม ขมวดพระเกศาใหญ่ พระพักตร์กลมอมยิ้ม พระหนุเป็นปม พระองค์อวบอ้วน พระอุระนน” เป็นลักษณะของพระพุทธรูปสมัยใด

(1) ทวารวดี      (2)       ศรีวิชัย (3)       ลพบุรี  (4)       เชียงแสน

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 21.       ประกอบ

31.       ก่อด้วยศิลาแลง สร้างเทวาลัยบนเชิงเขาสูง” เป็นสถาปัตยกรรมสมัยใด

(1) ทวารวดี      

(2)       ศรีวิชัย 

(3)       ลพบุรี  

(4)       เชียงแสน

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 9. ประกอบ

32.       พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรที่สวยงามที่สุดพบที่ใด

(1)       อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี         

(2) อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม

(3) อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา       

(4) อำเภอสรรค์บุรี จังหวัดชัยนาท

ตอบ 1 หน้า 128 พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรที่สวยงามที่สุดพบที่ อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี โดยลักษณะ ขององค์และพระพักตร์จะแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของศิลปะคุปตะอย่างชัดเจน และพระโพธิสัตว์ ในศิลปะศรีวิชัยนี้มักจะทรงเครื่องกษัตริย์อย่างครบครัน ซึ่งการทรงเครื่องประดับอย่างมากมายนั้น เป็นอิทธิพลของศิลปะปาละ

33.       จิตรกรรมฝาผนังไทยที่เก่าที่สุด คือที่ใด

(1)       วัดเจดีย์เจ็ดแถว อำเภอศรีสัชนาลัย    

(2) วัดศรีชุม จังหวัดสุโขทัย

(3) เมืองโบราณที่สระโกสินารายณ์ จังหวัดราชบุรี 

(4) วัดกำแพงแลง จังหวัดเพชรบุรี

ตอบ 1 หน้า 130 จิตรกรรมฝาผนังไทยที่เก่าที่สุด คือ จิตรกรรมที่วัดเจดีย์เจ็ดแถว อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย และจิตรกรรมในถํ้าศิลปะ จ.ยะลา ซึ่งมีอายุประมาณพุทธศตวรรษที 18 หรือ กลางพุทธศตวรรษที่ 19 โดยจิตรกรรมที่พบนี้ยังคงรักษาแบบอย่างของศิลปะสมัยศรีวิชัย ไว้ได้มาก แต่คงจะวาดขึ้นใหม่เพื่อการฟื้นฟูศาสนาพุทธ

34.       พระพุทธรูปสมัยสุโขทัยนิยมหล่อด้วยวัสดุใด

(1)       ศิลา     (2) ทองแดง     (3) ดินเผา        (4) สำริด

ตอบ 4 หน้า 146 พระพุทธรูปสมัยสุโขทัยนิยมหล่อด้วยสำริดหรือปูนปั้น มีทั้งปางลีลา ปางประทับนั่ง หรือทำเป็นพระพุทธรูปสี่อิริยาบถ คือ นั่ง นอน ยืน และเดิน ส่วนที่สลักด้วยศิลาก็มีบ้างแต่น้อย นอกจากจะทำเป็นพระพุทธรูปเดี่ยวๆ และทำเป็นลายปูนปั้นหรือพระพุทธรูปประดับตัวอาคาร เพื่อให้ดูสวยงามยิ่งขึ้น

35.       ศิลปะสมัยทวารวดีเป็นศิลปะเกิดขึ้นจากอิทธิพลของศาสนาใดมากที่สุด

(1) ศาสนาพราหมณ์    (2) ศาสนาฮินดู

(3) ศาสนาพุทธนิกายหินยาน  (4) ศาสนาพุทธนิกายมหายาน

ตอบ 3 หน้า 119 – 123214 – 215 ศิลปะทวารวดี เป็นศิลปะสมัยแรกสุดของไทยที่เจริญขึ้นทางภาคกลาง ส่วนใหญ่จะทำขึ้นจากคติทางพุทธศาสนาหินยานอย่างเถรวาทที่ใช้ทั้งภาษาบาลี และสันสกฤตมากที่สุด รองลงมาคือพุทธศาสนามหายาน และศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ดังนั้นจึง ปรากฏมีอิทธิพลของศิลปะอินเดียแบบอมราวดีซึ่งเป็นศิลปกรรมที่ทำขึ้นจากคติทางพุทธหินยาน รวมทั้งศิลปะคุปตะ หลังคุปตะ และศิลปะปาละ-เสนะที่ทำขึ้นจากคติทางพุทธศาสนามหายาน

36.       ท่าประทับนั่งมักขัดสมาธิราบ พระขนงต่อเป็นเส้นเดียวกัน พระเกตุมาลาสั้น” เป็นลักษณะเด่นของ พระพุทธรูปศิลปะสมัยใด

(1) ศิลปะทวารวดี        (2) ศิลปะศรีวิชัย         (3) ศิลปะสุโขทัย         (4) ศิลปะอยุธยา

ตอบ 1 หน้า 121 – 122 ลักษณะของพระพุทธรูปในศิลปะทวารวดีที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะอินเดีย แบบอมราวดี คือ ท่าประทับนั่งมักขัดสมาธิราบแบบหลวม ๆ ซึ่งจะขัดไว้แค่เห็นพระบาทเท่านั้น พระขนงต่อเป็นเส้นเดียวกัน พระเกตุมาลาสั้นหรือเกือบไม่มีเลย พระหัตถ์มักทำปางวิตรรกะ คือ พระหัตถ์ยื่นออกมาในระดับพระอุระ และจีบนิ้วพระหัตถ์หัวแม่มือและนิ้วชี้เป็นวงกลม

37.       ศิลปะหมวดวัดตระกวน จัดเป็นศิลปะสมัยใด

(1) สุโขทัย       (2) อู่ทอง         (3) อยุธยา       (4) รัตนโกสินทร์

ตอบ 1 หน้า 145 – 146 ลักษณะของพระพุทธรูปในศิลปะสมัยสุโขทัยแบ่งออกเป็น 4 หมวด ได้แก่

1.         หมวดใหญ่ ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของพระพุทธรูปสมัยสุโขทัยที่งามที่สุด

2.         หมวดกำแพงเพชร 3. หมวดพระพุทธชินราช 4. หมวดเบ็ดเตล็ด หรือหมวดวัดตระกวน

38.       สถาปัตยกรรมสมัยสุโขทัยที่มีความสวยงามและสมบูรณ์มากที่สุด คือข้อใด

(1) วัดเบญจมบพิตร กรุงเทพฯ            (2) สถูปวัดช้างล้อม ศรีสัชนาลัย

(3) วัดตระพังหลวง สุโขทัย     (4) พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ กรุงเทพฯ

ตรบ 2 หน้า 145147 สถาปัตยกรรมสมัยสุโขทัยที่มีความสวยงามและสมบูรณ์มากที่สุด คือ

สถูปที่วัดช้างล้อม อ.ศรีลัชนาลัย จ.สุโขทัย ซึ่งเป็นสถูปเจดีย์ทรงระฆังโอคว่ำ หรือทรงลังกา ที่ได้รับอิทธิพลจากลังกา สำหรับลวดลายใต้องค์ระฆังที่ทำเป็นรูปกลีบบัวประกอบนั้น สันนิษฐานว่าน่าจะได้รับอิทธิพลมาจากพม่า

39.       เมืองศรีวิชัยวัชรบุรี ปัจจุบันน่าจะหมายถึงเมืองใด

(1) ราชบุรี        (2) เพชรบุรี      (3) สิงห์บุรี       (4) ลพบุรี

ตอบ 2 หน้า 133 – 134 ในจารึกปราสาทพระขรรค์ได้กล่าวถึงชื่อเมืองในภาคกลางของไทย รวม 6 เมือง ได้แก่         1. เมืองลไวทยปุระ หรือเมืองลพบุรี 2. เมืองสุวรรณปุระ หรือเมืองสุพรรณบุรี     3. เมืองชัยราชบุรี หรือเมืองราชบุรี

4.         เมืองศัมพูกปัฏฎนะ สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นเมืองโบราณที่สระโกสินารายณ์ อ.บ้านโป่ง จ.ราชบุรี

5.         เมืองศรีวิชัยวัชรบุรี หรือเมืองเพชรบุรี  6. เมืองศรีชัยสิงหบุรี สันนิษฐานว่าน่าจะเป็น เมืองสิงห์ ซึ่งเป็นที่ตั้งของปราสาทเมืองสิงห์ จ.กาญจนบุรี แต่บางท่านว่าน่าจะเป็นเมืองสิงห์บุรี

40.       สถาปัตยกรรมที่สร้างปราสาทโดด ๆ ตั้งอยู่บนฐานเตี้ย มีกำแพงแก้วล้อมรอบ เป็นศิลปะสมัยใด

(1) สุโขทัย       (2) อยุธยา       (3) ลพบุรี         (4) รัตนโกสินทร์

ตอบ 3 หน้า 137 สถาปัตยกรรมในศิลปะสมัยลพบุรีจะเริ่มจากการสร้างปราสาทโดด ๆ ตั้งอยู่บนฐานเตี้ยสร้างด้วยอิฐ และมีแผนผังเป็นรูปจัตุรัสยังไม่มีการย่อมุม ยอดปราสาทลดชั้นถอยเข้า หาแกนกลางเรื่อย ๆ จนถึงยอด ต่อมากลุ่มอาคารจะมีความสำคัญมากขึ้น โดยมีกำแพงแก้ว ล้อมรอบ และสิ่งต่าง ๆ จะยิ่งเพิ่มความซับซ้อน ทำให้เกิดความงามอย่างแปลกประหลาด จนกลายเป็นเอกลักษณ์และแบบเฉพาะของศิลปะเขมร

41.       ภาพจิตรกรรมสมัยใดนิยมพื้นเข้ม ตัวบุคคลสีอ่อน เครื่องประดับสีทอง

(1) สุโขทัย       

(2) อู่ทอง         

(3) ลพบุรี         

(4) อยุธยา

ตอบ 4 หน้า 154 จิตรกรรมสมัยอยุธยาได้รับอิทธิพลจากศิลปะสุโขทัยโดยภาพจิตรกรรมมักนิยมพื้นเข้ม ตัวบุคคลเป็นสีอ่อน เครื่องประดับเป็นสีทอง ส่วนสีที่ใช้เป็นสีดำ ขาว เหลือง และแดง ซึ่งจัดเป็น สีเอกรงค์ (Monochrome) แต่พอมาถึงปลายสมัยอยุธยาก็นิยมใช้สีพหุรงค์ (Polychrome)

42.       มีกำแพงเมืองเป็นรูปสี่เหลียมผืนผ้า มีกำแพงดิน 3 ชั้น มีประตูเมือง 4 ประตู มีสระน้ำใหญ่ 4 สระ นี่คือลักษณะของเมืองใด

(1) สุโขทัย       

(2) อู่ทอง         

(3) ลพบุรี         

(4) อยุธยา

ตอบ 1 หน้า 143 – 144 จากหลักฐานทางโบราณคดีทำให้ทราบว่า สุโขทัยมีกำแพงเมืองเป็นรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า ทำเป็นกำแพงดินรวม 3 ชั้น มีประตูเมือง 4 ประตู และมีสระนํ้าใหญ่ 4 สระ คือ ตระพังเงิน ตระพังทอง ตระพังสอง และตระพังตระกวน

43.       ข้อใดเป็นจิตรกรรมสมัยธนบุรี

(1)       จิตรกรรมฝาผนังที่วัดช่องนนทรี          

(2) จิตรกรรมฝาผนังที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

(3) จิตรกรรมฝาผนังที่พระที่นั่งพุทไธสวรรย์    

(4) จิตรกรรมฝาผนังที่พระอุโบสถวัดดุสิตาราม

ตอบ 1 หน้า 157 – 158 จิตรกรรมสมัยธนบุรีที่พบมีอยู่น้อยแห่ง เช่น จิตรกรรมฝาผนังที่วัดช่องนนทรี อ.ยานนาวา กรุงเทพฯ และสมุดภาพไตรภูมิฉบับช่างหลวง ซึ่งเขียนขึ้นตามพระบรมราชโองการ ของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชในปี พ.ศ. 2319 โดยปัจจุบันมีอยู่ 2 ฉบับ คือ อยู่ที่ หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี กรุงเทพฯ และที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรุงเบอร์ลิน เยอรมนี

44.       เจดีย์ที่เป็นแบบอย่างของศิลปะสมัยสุโขทัยแท้ เรียกว่าอะไร

(1) เจดีย์ทรงลังกา

(2)       เจดีย์ทรงระฆังโอควํ่า (3) เจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์       (4) เจดีย์ทรงย่อมุมไม้สิบสอง

ตอบ 3 หน้า 147 เจดีย์ที่เป็นแบบอย่างของศิลปะสมัยสุโขทัยอย่างแท้จริง คือ เจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ เช่น พระเจดีย์ที่วัดมหาธาตุ เมืองสุโขทัยเก่า และเจดีย์องค์กลางที่วัดเจดีย์ 7 แถว มักนิยมทำเป็นฐานสี่เหลี่ยม 3 ชั้นซ้อนกัน องค์เจดีย์ย่อมุม ยอดเป็นทรงพุ่มข้าวบิณฑ์หรือรูปดอกบัวตูม ซึ่งสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพกล่าวว่าน่าจะได้รับอิทธิพลจากศิลปะจีนด้วย

45.       มุทราของพระพุทธรูปทางมหายาน มุทรา” หมายถึงอะไร  

(1) พระเกตุมาลา

(2)       ไรพระศก         (3) การแสดงอิริยาบถ (4) การแสดงท่าด้วยพระหัตถ์

ตอบ 4 หน้า 83128135, (คำบรรยาย) คำว่า มุทรา” (Mudra) เป็นคำภาษาสันสกฤต หมายถึง การแสดงท่าทางด้วยพระหัตถ์ หรือปางต่าง ๆ ของประติมากรรมที่แสดงด้วยมือ เช่น ปางประทานพร (วรมุทรา) เป็นตน สำหรับมุทราของพระพุทธรูปทางมหายานจะทำเช่นเดียวกับพระพุทธรูปทางหินยาน แต่จะผิดกันตรงที่เป็นพระพุทธรูปทรงเครื่อง (มหายาน) หรือ พระพุทธรูปไม่ทรงเครื่อง (หินยาน) เท่านั้น

46.       พระพุทธรูปสมัยสุโขทัยมีพระพักตร์แบบใด

(1) วงกลม       (2) สี่เหลี่ยม     (3) รูปไข่          (4) สามเหลี่ยม

ตอบ 3 หน้า 144151 พระพุทธรูปสมัยสุโขทัยมีความสวยงามอย่างประหลาด ดังคัมภีร์มหากาพย์ ในภาษาสันสกฤตกล่าวว่า พระชงค์เหมือนขากวาง ขาอ่อนเหมือนต้นกล้วย พระกรกลมและเกลี้ยงเกลาเหมือนงาช้าง พระหัตถ์เหมือนดอกบัวที่เริ่มบาน นิ้วพระหัตถ์เหมือนกลีบดอกไม้ พระพักตร์มีลักษณะเป็นรูปไข่ แก้มนูนเป็นวงรี พระนาสิกเหมือนปากนกแก้ว และพระเกศา ขมวดเหมือนก้นหอย

47.       พระแผงหรือพระกำแพงร้อย เริ่มทำในสมัยใด

(1) ทวารวดี      (2) ศรีวิชัย      (3) อยุธยา      (4) รัตนโกสินทร์

ตอบ 3 หน้า 154 พระพิมพ์ในสมัยอยุธยามักทำเป็นรูปเล็ก ๆ หลายองค์บนแผ่นเดียวกัน เรียกว่าพระแผงหรือพระกำแพงร้อย” ซึ่งเริ่มทำกันมาตั้งแต่อยุธยายุคที่ 2 แต่ในสมัยอยุธยาตอบปลาย มักนิยมทำพระพิมพ์เป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องประทับอยู่ภายใต้ซุ้มเรือนแก้ว

48.       ในสมัยรัตนโกสินทร์มีศิลปกรรมรูปแบบใหม่คือ พระพุทธรูปปางใด

(1) ปางประสูติ            (2) ปางตัดพระเมาลี    (3) ปางชนะมาร          (4) ปางขอฝน

ตอบ 4 หน้า 157163190 (S) ในสมัยรัชกาลที่ 5 และ 6 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ นิยมสร้างพระพุทธรูป ให้เหมือนมนุษย์มากยิ่งขึ้น คือ พยายามเลียนแบบพระพุทธรูปคันธารราฐของอินเดีย โดยการ ทำปางของพระพุทธรูปเพิ่มจากสมัยก่อน ๆ ซึ่งถือเป็นศิลปกรรมรูปแบบใหม่ ได้แก่ พระพุทธรูปปางขอฝนที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5

49.       พระธาตุหริภุญชัยที่ลำพูน เป็นเจดีย์สมัยใด

(1)       สุโขทัย            (2) อู่ทอง         (3) เชียงแสน   (4) อยุธยา

ตอบ 3 หน้า 141,170-171(S) เจดีย์สมัยเชียงแสนที่ได้รับเอาแบบอย่างจากเจดีย์ทรงกลมของสุโขทัย แต่มาดัดแปลงให้มีฐานสูงขึ้น เช่น พระธาตุลำปางหลวง จ.ลำปางพระธาตุหริภุญไชย จ.ลำพูน เป็นต้น

50.       ข้อใดไม่ใช่วิจิตรศิลป์ 

(1) ภาพวาดชาวเขา

(2)       รูปปั้นสมเด็จพระสังฆราช      (3) วัดทุ่งนครที่สร้างเกือบเสร็จแล้ว     (4) ตุ้มหูเพชรของคุณแม่

ตอบ 4 หน้า 81422122 (S) วิจิตรศิลป์ (Fine Art) หมายถึง จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม วรรณศิลป์ ดุริยางคศิลป์ (ดนตรีและการละคร) และภาพพิมพ์ ซึ่งเกิดขึ้นจากแรงบันดาลใจ ของธรรมชาติจนส่งเสริมให้ศิลปินเกิดความคิดสร้างสรรค์ในงานศิลปะ หรือเป็นศิลปกรรม ที่ทำขึ้นจากความสัมพันธ์กันอย่างประณีตของเส้นและมวลสิ่งหรือสีที่มีความผสมกลมกลืนกัน อย่างงดงาม (ส่วนตุ้มหูเพชรของคุณแม่ เป็นศิลปะประยุกต์ที่สร้างหรือประดิษฐ์ขึ้นมา เพื่อประโยชน์ใช้สอย)

51.       ศิลปะกินระวางเนื้อที่ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า   

(1) ทัศนศิลป์

(2)       วิจิตรศิลป์        

(3) คีตศิลป์และดุริยางคศิลป์  

(4) ถูกทุกข้อ

ตอบ 1 หน้า 840 ศิลปะกินระวางเนื้อที่ (Space Art) บางครั้งก็เรียกว่า ทัศนศิลป์” (Visual Art or Plastic Art) หมายถึง ศิลปะที่จำกัดระวางเนื้อที่ส่วนใดส่วนหนึ่งในอากาศด้วยปริมาตร ของศิลปะเหล่านั้น ซึ่งได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม เป็นต้น

52.       เพลงสวดบูชาเทพเจ้า จัดว่าเป็น …

(1)       วิจิตรศิลป์       

(2) ทัศนศิลป์   

(3) วาทศิลป์

(4) ศิลปะประยุกต์

ตอบ 1 หน้า 14, (ดูคำอธิบายข้อ 50. ประกอบ) วิจิตรศิลป์ได้ให้อิทธิพลต่อศิลปะยุคหลัง ๆ อีกมากมาย เช่น โรงพิธีสำหรับบูชาก็กลายเป็นโบสถวิหารที่สวยงาม เพลงสวดบูชาเทพเจ้าที่เคยร้องทำนอง ง่าย ๆ แบบคนป่าก็กลายมาเป็นเพลงที่มีเสียงประสานกันอย่างไพเราะ และการเขียนสีลงบน ใบหน้าก็วิวัฒนาการมาเป็นจิตรกรรมฝาผนังถํ้า เป็นต้น

53.       ข้อใดไมใช่บ่อเกิดของศิลปะ  

(1) ธรรมชาติ

(2)       ความเชื่อและศาสนา  

(3) ภูมิอากาศและภูมิประเทศ 

(4) ทัศนคติเชิงบวกของจิตรกร

ตอบ 4 หน้า 9-17 บ่อเกิดหรือแม่แห่งศิลปะมิได้มาจากธรรมชาติเท่านั้น เพราะสิ่งแวดล้อมรอบ ๆตัวเราย่อมมีผลเป็นอย่างมากต่อการสร้างสรรค์งานศิลปะ ดังนั้นปัจจัยที่เป็นบ่อเกิดของงานศิลปะ จึงประกอบไปด้วย  1. ธรรมชาติ 2. ความเชื่อถือและศาสนา 3. ภูมิอากาศ ภูมิประเทศและวัสดุที่นำมาใช้ 4. สังคมและระบอบการปกครอง

54.       ข้อใดไม่ใช่ส่วนประกอบขั้นมูลฐานของศิลปะ

(1) Line, Value  (2) Shape, Form (3) Space, Texture (4) Colour, Rhythm

ตอบ 4 หน้า 25 – 28 ส่วนประกอบขั้นมูลฐานของศิลปะ (The Elements of Art) ได้แก่

1.         เส้น (Line)   2. คุณค่า (Value)  3. รูปร่าง (Shape)  4. รูปลักษณะ (Form)

5. ช่องไฟ (Space) 6. พื้นผิว (Texture) 7. สี (Colour)

55.       ข้อใดไม่ใช่ความหมายของคำว่า “Asymmetrical Balance”

(1) ความสมดุลกันทั้งซ้ายและขวา      (2) ความสมดุลด้วยตา

(3)       ความสมดุลโดยประมาณ        (4) ความสมดุลที่มิได้เท่ากันอย่างแท้จริง

ตอบ 1 หน้า 30 – 3176 (S) ความสมดุล (Balance) หมายถึง ความเท่ากันหรือการถ่วงเพื่อให้เกิด การเท่ากัน แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่

1.         ความสมดุลที่เท่ากัน (Symmetrical Balance or Formal Balance) คือ ความเท่ากัน หรือสมดุลกันทั้งซ้ายและขวา เช่น ร่างกายของคน สัตว์ ฯลฯ

2.         ความสมดุลไม่เท่ากัน (Asymmetrical Balance or Informal Balance) คือ ความสมดุล ที่มิได้เท่ากันโดยแท้จริง แต่มีการจัดขนาด รูปร่าง สี รูปทรง ฯลฯ ให้แตกต่างกันทั้ง 2 ข้าง หรือมีลักษณะสมดุลด้วยตาโดยประมาณ เช่น ต่างหูข้างหนึ่งเป็นรูปดาวและอีกข้างหนึ่ง เป็นรูปเดือน ฯลฯ

56.       ช่วงจังหวะที่เคลื่อนไหวซํ้ากันมากๆ จะก่อให้เกิดความเบื่อหน่ายแก่ผู้พบเห็น ข้อใดคือวิธีการแก้ไข

(1)       วางวัตถุใด ๆ ก็ได้ให้อยู่ตรงระหว่างกลาง

(2)       ลดขนาดของรูปที่ซํ้ากันหรือใช้แบบอย่างที่แตกต่าง

(3)       เพิ่มแสงและเงาลงไปเพื่อให้ภาพมองดูเลือนลาง

(4)       เปลื่ยนพื้นผิวของรูปภาพ

ตอบ 2 หน้า 31 ในบางครั้งช่วงจังหวะ (Rhythm) ที่เคลื่อนไหวซํ้ากันมาก ๆ จะก่อให้เกิดความเบื่อหน่าย แก่ผู้พบเห็น ดังนั้นศิลปินก็อาจจะแก้ปัญหาโดยการลดขนาดของรูปที่ซํ้ากันหรือใช้แบบอย่างที่แตกต่างกันไปบ้าง เช่น การซํ้ากันของขนาดที่ต่างกัน หรือการซํ้ากันของลวดลายที่แตกต่างกัน ก็จะทำให้เกิดเป็นรูปร่างใหม่ขึ้น มีท่วงทีและลีลาที่ช่วยให้เกิดความตื่นเต้นแก่ผู้พบเห็นได้

57.       สำริดเกิดจากแร่ธาตุใดผสมกัน

(1) ทองแดง + ดีบุก (2) ทองแดง + ตะกั่ว (3) ดีบุก + ตะกัว  (4) ตะกั่ว + เหล็ก

ตอบ 1 หน้า 68 – 69, (คำบรรยาย) ยุคสำริด (Bronze Age) มีระยะเวลาประมาณ 4,000 – 2,500 B.C. เป็นยุคที่มนุษย์เริ่มเรียนรู้การใช้ทองบรอนซ์หรือที่เรียกว่า สำริด” คือ โลหะผสมระหว่าง ทองแดงกับดีบุก เพื่อใช้ผลิตเครื่องมือเครื่องใช้ และเครื่องประดับต่าง ๆ เช่น ขวานสำริด กำไลแขนสำริด แหวนสำริด ฯลฯ แต่เหตุการณ์ที่สำคัญที่สุดในยุคนี้ก็คือ การเริ่มใช้โลหะผสม ทำเงินตราแลกเปลี่ยนระหว่างกัน

58.       ข้อใดคือเหตุการณ์สำคัญของยุคสำริด

(1) การสูญพันธุ์          (2) มีการใช้เงินตราแลกเปลี่ยน

(3)       มีการยึดอำนาจ           (4) มีสงคราม

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 57. ประกอบ

59.       ข้อใดไม่ใช่เหตุผลที่มนุษย์เลือกตั้งถิ่นฐานตามลุ่มแม่นํ้า

(1) เป็นแหล่งทำเลเพาะปลูกที่ดี         (2) การคมนาคมสะดวก

(3)       มีอาหารและเสบียงครบ          (4) เป็นศูนย์รวมของการเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม

ตอบ 4 (คำบรรยาย) สาเหตุที่มนุษย์ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์เลือกตั้งถิ่นฐานตามลุ่มแม่นํ้า มีดังนี้

1.         เป็นแหล่งทำเลที่สามารถเพาะปลูกได้ดี

2.         การคมนาคมทางนํ้า ทำให้มนุษย์ไปมาหาสู่กันได้สะดวก

3.         เป็นแหล่งที่มีอาหารและเสบียงครบถ้วนสมบูรณ์

60.       การเรียงลำดับการพบเครื่องมือในยุคหินข้อใดถูกต้องที่สุด

(1)       หินหยาบ หินขัด หินกะเทาะ   (2) หินขัด หินหยาบ หินกะเทาะ

(3)       หินหยาบ หินกะเทาะ หินขัด    (4) หินขัด หินกะเทาะ หินหยาบ

ตอบ 3 (คำบรรยาย) ลักษณะเด่นของยุคหิน (Stone Age) หรือเรียกว่ายุคก่อนรู้หนังสือ หรือ ยุคก่อนการประดิษฐ์ตัวอักษร คือ มนุษย์รู้จักใช้เครื่องมือที่ทำจากหิน โดยพัฒนาการของ เครื่องมือในยุคหินจะเริ่มจากเครื่องมือหินหยาบ เครื่องมือหินกะเทาะ และเครื่องมือหินขัด

61.       เครื่องมือสมัยยุคหินเก่าตอนต้นคือ   

(1) ฉมวก

(2)       หัวลูกศร         

(3) ขวานกะเทาะแบบกำปั้น   

(4) เคียวหินเหล็กไฟด้ามไม้

ตอบ 3 หน้า 49 – 53, (คำบรรยาย) ยุคหินเก่า (Paleolithic Period) หรือยุคล่าสัตว์ เป็นยุคที่มนุษย์มีพัฒนาการที่สำคัญ คือ การใช้สติปัญญาประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้สำหรับล่าสัตว์ แบ่งออกเป็น

1.         ยุคหินเก่าตอนต้น ได้แก่ เครื่องมือหินกะเทาะ หรือขวานกะเทาะแบบกำปั้น

2.         ยุคหินเก่าตอนกลาง ได้แก่ การใช้เครื่องมือที่มีด้ามยาว

3.         ยุคหินเก่าตอนปลาย ได้แก่ เครื่องดีดแหลนโดยใช้หลักคานงัด ทำให้พุ่งแหลนไปได้ไกล 1 เท่าตัว และการทำธนูหน้าไม้

62.       Menhir or Standing Stone เป็นอนุสาวรีย์หินแบบใด  

(1) หินตั้งเดียว

(2)       หินตั้งเป็นวงกลม        

(3) โต๊ะหิน       

(4) หินตั้งเป็นแกนยาว

ตอบ 1 หน้า 72, (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 37 – 38) วัฒนธรรมหินใหญ่ เป็นวัฒนธรรมของ คนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่รู้จักนำเอาก้อนหินมาก่อสร้างอย่างง่าย ๆ โดยตั้งไว้เป็นรูปต่าง ๆ ดังนี้ 1. โต๊ะหิน (Dolmens) 2. หินตั้ง (Standing Stone) หรือแท่งหินที่ตั้งอยู่โดดเดี่ยว (Menhir)

3.         หินตั้งเป็นวงกลม (Stone Circles or Comlechs) 4. หินตั้งเป็นแถวขนาน (Alignments)

63.       ข้อใดแสดงความแตกต่างระหว่างสมัยก่อนประวัติศาสตร์กับสมัยประวัติศาสตร์ได้ชัดเจนที่สุด

(1) ตัวอักษร     

(2) เครื่องมือเครื่องใช้

(3)       โบราณสถาน-โบราณวัตถุ      

(4) วิถีชีวิตของคนในสังคม

ตอบ 1 หน้า 47114 (ร), (คำบรรยาย) สิ่งที่แสดงความแตกต่างระหว่างสมัยก่อนประวัติศาสตร์กับสมัยประวัติศาสตร์ได้ชัดเจนที่สุด คือ ตัวอักษร ซึ่งใช้เป็นเกณฑ์ในการแบ่งยุคสมัยของมนุษย์ กล่าวคือ สมัยก่อนประวัติศาสตร์นั้นยังไม่มีตัวอักษรสำหรับการจดบันทึก การศึกษาศิลปะจึง ศึกษาจากศิลปะวัตถุและซากโครงกระดูกต่าง ๆ ส่วนสมัยประวัติศาสตร์จะมีการใช้ตัวอักษร เพื่อสื่อความหมายและทำความเข้าใจระหว่างกัน การศึกษาศิลปะจึงศึกษาจากลายลักษณ์อักษรที่ได้จดบันทึกขึ้น

64.       ข้อใดคือยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่อยู่ในช่วงเวลาติดต่อกัน

(1) ยุคหินใหม่-ยุคเหล็ก           (2) ยุคหินใหม่-ยุคสำริด

(3)       ยุคหินเก่า-ยุคหินใหม่  (4) ถูกทุกข้อ

ตอบ 2 หน้า 49,54-56,(คำบรรยาย) การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ตามลักษณะศิลปกรรมมีดังนี้

1.         ยุคหิน (Stone Age) แบ่งออกเป็น 3 ยุค ได้แก่ ยุคหินเก่า (500,000 – 10,000 B.C.) ยุคหินกลาง (10,000 – 6,000 B.C.) และยุคหินใหม่ (6,000 – 4,000 B.C.)

2.         ยุคโลหะ (Metal Age) แบ่งออกเป็น 2 ยุค ได้แก่ ยุคสำริด (4,000 – 2,000 B.C.)

และยุคเหล็ก (2,000 – 1,500 B.C.)

65.       ลักษณะเด่นของยุคหิน คือข้อใด

(1) มีการใช้สำริดทำอาวุธ        (2) พบเครื่องมือเหล็ก

(3)       มีการทำเครื่องประดับ (4) มีการใช้เครื่องมือที่ทำจากหิน

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 60. ประกอบ

66.       พัฒนาการที่สำคัญของมนุษย์ในยุคหินเก่า คืออะไร

(1) การพูด       (2) การกระทำ

(3) การใช้สติปัญญา   (4) การใช้ความสามารถ

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 61. ประกอบ

67.       ข้อใดเป็นหลักฐานยุคก่อนประวัติศาสตร์ของอินเดีย

(1) สโตนเฮนจ์ (2) เมืองโบราณโมเหนโจดาโร

(3) โครงกระดูกมนุษย์สไตน์ไฮม์          (4) ภาพเขียนสีวัวป่าที่ถํ้าอัลตามีรา

ตอบ 2 หน้า 5985 อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาสตร์จะเจริญขึ้นแถบลุ่มแม่นํ้าคงคาและสินธุ ราว 2,500 – 1,500 ปีก่อนพุทธกาล เรียกว่า อารยธรรมแถบลุ่มแม่น้ำสินธุ ดังหลักฐาน ที่เมืองโบราณโมเหนโจดาโรและฮารัปปา ซึ่งพบซากการวางผังเมืองอย่างเป็นระบบ คงได้รับแบบอย่างมาจากอารยธรรมเมโสโปเตเมียราว 1,800 ปีก่อนพุทธกาล นอกจากนี้ยังพบ โบราณวัตถุสำคัญในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ คือ ตราประทับที่ทำจากหินสบู่ในแคว้นปัญจาบ และสิบธุ

68.       ประติมากรรมพระพุทธรูปสมัยแรกของอินเดียได้รับอิทธิพลจากศิลปะประเทศใด

(1) จีน  (2) โรมัน          (3) กรีก            (4) เปอร์เซีย

ตอบ 3 หน้า 93 – 94 การสร้างประติมากรรมพระพุทธรูปอินเดียเป็นรูปเคารพครั้งแรกเกิดขึ้นในศิลปะคันธารราฐ (พุทธศตวรรษที่ 6-7) ซึ่งเชื่อกันว่าพระพุทธรูปสมัยแรกของอินเดียคงทำขึ้น โดยช่างกรีก จึงได้ปรากฏอิทธิพลของกรีกแบบเฮลเลนิสติกอย่างชัดเจนจากพระพักตร์ พระเกศา และการครองจีวรที่แทบจะไม่มีลักษณะของอินเดียเหลืออยู่เลย โดยช่างคันธารราฐ นิยมทำเป็นประติมากรรมลอยตัว แต่ภาพเล่าเรื่องนิยมทำเป็นภาพสลักนูนสูง

69.       หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในข้อใดต่อไปนี้มีอายุเก่าแก่ที่สุด

(1) คัมภีร์พระเวท        (2) ตำราอรรถศาสตร์

(3) คัมภีร์มานวธรรมศาสตร์    (4) ศิลาจารึกของพระเจ้าอโศกมหาราช

ตอบ 1 หน้า 8890, (คำบรรยาย) ก่อนหน้า 1,000 ปีก่อนพุทธกาล ชนเผ่าอารยันได้เข้ามายึดครอง ดินแดนแถบลุ่มแม่นํ้าสินธุและคงคาของอินเดีย โดยได้นำเอาอารยธรรมต่าง ๆ เข้ามาเผยแพร่ ในอินเดีย ดังนี้

1.         คัมภีร์พระเวท เป็นวรรณกรรมทางศาสนาในภาษาสันสกฤต และถือเป็นหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ที่มีอายุเก่าแก่ที่สุด

2.         เริ่มเกิดระบบวรรณะในอินเดียจากสูงไปต่ำ ได้แก่ วรรณะพราหมณ์ กษัตริย์ แพทย์และศูทร

3.         เกิดศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ศาสนาพุทธ และศาสนาเชน ฯลฯ

70.       ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับอารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาสตร์บริเวณลุ่มน้ำสินธุ

(1)       มีศาสนา

(2) มีการวางผังเมืองอย่างเป็นระบบ

(3) เป็นอารยธรรมของชาวศกะ

(4) ตั้งอยู่ในประเทศเนปาลปัจจุบัน

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 67. ประกอบ

71.       ยุคทองของอินเดียหมายถึงช่วงสมัยใด         

(1) สมัยจักรวรรดิมคธ

(2)       สมัยจักรวรรดิคุปตะ   

(3) สมัยจักรวรรดิเมารยะ        

(4) สมัยอิสลาม

ตอบ 2 หน้า 100 – 103109, (คำบรรยาย) ศิลปะคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ 9-11) จัดเป็นยุคทอง ของศิลปะอินเดีย ซึ่งเจริญขึ้นในสมัยจักรวรรดิคุปตะ โดยพระพุทธรูปในสมัยนี้จะมีความงาม ตามอุดมคติแบบอินเดีย คือ พระพักตร์ของพระพุทธรูปจะแสดงถึงความเมตตา ความอ่อนโยน ความสงบนิ่ง และความหลุดพ้นจากความทุกข์ทั้งปวง ซึ่งพระพุทธรูปสมัยคุปตะส่วนใหญ่ จะนิยมแกะสลักด้วยหินทรายแดง

72.       ลักษณะประติมากรรมของโรมัน คือข้อใด     

(1) แข็งทื่อไร้ชีวิตชีวา

(2)       ผิดธรรมชาติ    

(3) สวยงามแบบอุดมคติ         

(4) สมจริงตามธรรมชาติ

ตอบ 4 หน้า 128 – 129 (S), (คำบรรยาย) ลักษณะงานประติมากรรมของโรมันจะสะท้อนบุคลิกภาพของมนุษย์ได้อย่างสมจริงตามธรรมชาติ แต่จะเน้นแกะสลักรูปปั้นบุคคลสำคัญในท่าครึ่งท่อนบน ได้อย่างสมจริง เช่น รอยย่นที่ขอบตา รอยหยักของมุมปาก ผมที่ดูเหมือนเปียกและมัน เนื่องจากเหงื่อ ฯลฯ ทำให้งานประติมากรรมรูปเหมือนมีลักษณะเด่นเฉพาะตัวต่างไปจาก ศิลปะอื่น ๆ ในยุคสมัยเดียวกัน

73.       ภาพวัวไบซันที่ถํ้าอัลตามีรา ประเทศสเปน เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในยุคใด

(1) ยุคหินเก่า   

(2) ยุคหินกลาง           

(3)       ยุคหินใหม่       

(4)       ยุคโลหะ

ตอบ 1 หน้า 49 – 50, (AR 103 เลขพิมพ์ 30175 หน้า 35 – 36) จิตรกรรมในสมัยโบราณก่อนประวัติศาสตร์มักพบตามถํ้า เช่น ตามผนังถํ้าและเพดานถํ้าที่อยู่ลึกจากปากถํ้าเข้าไป บางครั้ง จึงเรียกว่า ศิลปะถํ้า” โดยถํ้าแรกสุดที่พบจิตรกรรมภาพเขียนของคนก่อนประวัติศาสตร์ที่เก่าที่สุด คือ ถํ้าอัลตามิรา (Altamira) ที่อยู่ทางตอนเหนือของประเทศสเปน พบภาพเขียนสีเป็นภาพ วัวไบซัน (Bison) บนผนังถํ้าจำนวนมากจนไม่อาจนับได้ ซึ่งมีอายุอยู่ในปลายยุคหินเก่าประมาณ 30,000 B.C.

74.       ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่เทพเจ้าที่ชาวอียิปต์นับถือ

(1) เร   (2) ซุส  (3)       ไอซิส    (4)       โอซิริส

ตอบ 2 หน้า 115 (S), (คำบรรยาย) เทพเจ้าที่ชาวอียิปต์นับถือมีอยู่หลายองค์ เช่น สุริยเทพเรหรือรา (Re or Ra) เป็นเทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์เทพโอซิริส (Osiris) เป็นเทพเจ้าแห่งแม่นํ้าไนล์ หรือเทพเจ้าแห่งความตายเทพีไอซิส (Isis) ซึ่งเป็นมเหสีของเทพโอซิริส เป็นเทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์เทพโฮรัส (Horus) ซึ่งเป็นบุตรของเทพโอซิริสกับเทพีไอซิส เป็นเทพเจ้าแห่งสวรรค์ เป็นต้น

75.       ศิลปะคันธารราฐนิยมทำประติมากรรมตามข้อใด

(1)       ประติมากรรมลอยตัว แต่ภาพเล่าเรื่องเป็นภาพนูนสูง

(2)       ประติมากรรมลอยตัว แต่ภาพเล่าเรื่องเป็นภาพนูนต่ำ

(3)       ประติมากรรมนูนตํ่า ภาพเล่าเรื่องเป็นภาพนูนตํ่า

(4)       ประติมากรรมลอยตัว ภาพเล่าเรื่องเป็นภาพลอยตัว

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 68. ประกอบ

76.       พระพุทธรูปสมัยใดที่แสดงถึงความอ่อนโยน สงบนิ่ง อันเป็นความงามตามอุดมคติแบบอินเดีย

(1) สมัยคันธารราฐ      (2)       สมัยอมราวดี    (3)       สมัยคุปตะ       (4)       สมัยมถุรา

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 71.       ประกอบ

77.       ยุคทองของพระพุทธรูปไทย คือสมัยใด

(1) สมัยทวารวดี          (2)       สมัยศรีวิชัย      (3)       สมัยลพบุรี       (4)       สมัยสุโขทัย

ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 5. ประกอบ

78.       ศิลปะของอินเดียสมัยใดที่ขาดความเป็นเอกลักษณ์และก่อให้เกิดศิลปะที่หลากหลายรูปแบบ

(1) ศิลปะอมราวดี       (2)       ศิลปะคุปตะ    (3)       ศิลปะมถุรา     (4)       ศิลปะหลังคุปตะ

ตอบ 4 หน้า 101 – 102, (คำบรรยาย) ศิลปะหลังคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ 12 – 14) เป็นยุคที่ศิลปกรรม ของอินเดียหมดความสวยงามลงไป เนื่องจากช่างผู้ทำมุ่งให้ถูกต้องตามปฏิมาณวิทยาเท่านั้น นอกจากนี้ยังนิยมเลียนแบบทั้งลักษณะและท่าทางของพระพุทธรูปในยุคทอง แต่จะเพิ่มลวดลาย ละเอียดมากขึ้น จึงทำให้ขาดความเป็นเอกลักษณ์และก่อให้เกิดศิลปะที่หลากหลายรูปแบบ

79.       สกุลช่างใดที่นิยมเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวอินเดีย

(1) สกุลช่างเบงกอล   (2) สกุลช่างคุชราช

(3)       สกุลช่างโมคุล (4) สกุลช่างในแหลมเดคข่าน

ตอบ 2 หน้า 106 – 107 จิตรกรรมในสมัยศิลปะอิสลาม (พุทธศตวรรษที่ 18 – 23) จะมีหลายสกุลช่าง ด้วยกัน แต่ลักษณะรูปภาพที่เขียนแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะดังนี้

1.         กลุ่มที่นิยมเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวอินเดีย เช่น สกุลช่างคุชราช

2.         กลุ่มที่นิยมเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับราชสำนักและความงามของหญิงสาว เช่น สกุลช่างโมคุล

80.       สกุลช่างใดที่นิยมเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับราชสำนักและความงามของหญิงสาว

(1) สกุลช่างเบงกอล   (2) สกุลช่างคุชราช

(3)       สกุลช่างโมคุล (4) สกุลช่างในแหลมเดคข่าน

ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 79. ประกอบ

81.       ชนเผ่าใดเป็นผู้ก่อให้เกิดศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และระบบวรรณะ

(1) ชนเผ่าอารยัน         

(2) ชนเผ่าติวโตนิก      

(3) ชนเผ่าอินเดียแดง  

(4) ชนเผ่าสุเมเรีย

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 69. ประกอบ

82.       ประเทศอินเดียได้รับเอกราชจากอังกฤษด้วยวิธีใด

(1)       การเจรจาด้วยการประนีประนอม

(2)       การสู้รบจนชนะ

(3)       ต่อสู้เรียกร้องแบบอหิงสาภายใต้การนำของมหาตมะ คานธี

(4)       อังกฤษสมัครใจให้เอกราชแก่อินเดียเอง

ตอบ 3 (คำบรรยาย) ประเทศอินเดียได้รับเอกราชจากอังกฤษโดยสมบูรณ์เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1947 ซึ่งเป็นผลมาจากการต่อสู้เรียกร้องแบบอหิงสาภายใต้การนำของมหาตมะ คานธี คือ การประท้วงแบบสันติหรืออารยะขัดขืน หลีกเลี่ยงความรุนแรง โดยจะทำควบคู่ไปกับ สัตยานุเคราะห์ คือ ความตั้งใจอันเด็ดเดี่ยวมั่นคงที่จะยืนหยัดอยู่กับความจริงและความถูกต้อง

83.       ข้อใดจัดลำดับระบบวรรณะในอินเดียได้ถูกต้อง

(1) พราหมณ์ กษัตริย์ แพทย์ ศูทร       

(2) กษัตริย์ แพทย์ ศูทร พราหมณ์

(3) แพทย์ ศูทร พราหมณ์ กษัตริย์       

(4) พราหมณ์ กษัตริย์ ศูทร แพทย์

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 69. ประกอบ

84.       พระพุทธรูปยกพระหัตถ์ขวาขึ้นเสมอพระอังสา พระหัตถ์ซ้ายกำอยู่เหนือพระโสณี เป็นพระพุทธรูปในศิลปะใด

(1) สมัยคันธารราฐ      (2) สมัยมถุรา  (3) สมัยคุปตะ (4) สมัยอมราวดี

ตอบ 2 หน้า 95 – 96 การแสดงปางของพระพุทธรูปในศิลปะมธุรา (พุทธศตวรรษที่ 7-8) จะผิดแปลก ออกไป เช่น พระพุทธรูปปางประทานอภัย มักแสดงโดยยกพระหัตถ์ขวาขึ้นเสมอพระอังสา พระหัตถ์ซ้ายกำอยู่เหนือพระโสณี ซึ่งจะไม่พบลักษณะเช่นนี้ในศิลปะแบบอื่นเลย

85.       พระพุทธรูปสมัยใดที่ทรงเครื่องหรือประดับด้วยเครื่องราชาภรณ์

(1) สมัยมธุรา  (2) สมัยคุปตะ (3) สมัยอมราวดี          (4) สมัยปาละ-เสนะ

ตอบ 4 หน้า 105 ศิลปะปาละ (พุทธศตวรรษที่ 14 – 16) และเสนะ (พุทธศตวรรษที่ 16 – 18) จัดเป็นศิลปะยุคเสื่อมที่เจริญขึ้นในแควันเบงกอลของอินเดีย โดยมีลักษณะเฉพาะ คือ พระพุทธรูปมักมีแผ่นหลังติดอยู่และมีลวดลายประดับมากมาย ส่วนใหญ่เป็นพระพุทธรูป ทรงเครื่องหรือประดับด้วยเครื่องราชาภรณ์ นิยมหล่อด้วยสำริดและสร้างจากศิลา แต่ไม่มี ความสวยงามเลย

86.       หินที่นิยมนำมาแกะสลักพระพุทธรูปสมัยคุปตะ คือหินชนิดใด

(1)       หินทรายแดง   (2) หินทรายเหลือง      (3) หินทรายเขียว         (4) ทินแกรนิต

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 71. ประกอบ

87.       ข้อใดถือเป็นหลักฐานชั้นรอง 

(1) ศิลาจารึก

(2)       เครื่องปั้นดินเผา         (3) ตราประทับดินเผา (4) เอกสารทางประวัติศาสตร์

ตอบ 4 (คำบรรยาย) หลักฐานทางประวัติศาสตร์แบ่งออกได้ 2 ประเภท ดังนี้

1.         หลักฐานชั้นต้น (ปฐมภูมิ) คือ หลักฐานที่บันทึกไว้ในสมัยที่เรื่องราวนั้นเกิดขึ้น รวมถึงสิ่งปลูกสร้าง และผลผลิตที่เกิดขึ้นในสมัยนั้น เช่น ศิลาจารึก เครื่องปั้นดินเผา ตราประทับดินเผา ฯลฯ

2.         หลักฐานชั้นรอง (ทุติยภูมิ) คือ บันทึกของผู้ที่ทราบเหตุการณ์จากคำบอกเล่าของบุคคลอื่นมาอีกต่อหนึ่ง ได้แก่ เอกสารทางประวัติศาสตร์ที่เขียนขึ้นภายหลัง โดยอาศัยหลักฐานชั้นต้น เช่น ตำนาน วิทยานิพนธ์ ฯลฯ

ข้อ 88. – 95.    ข้อใดถูกให้ตอบข้อ 1 ข้อใดผิดให้ตอบข้อ 2

88.       จุดมุ่งหมายของการเรียนศิลปะ คือ ช่วยให้วาดภาพได้อย่างสวยงามและสมสัดส่วน ตอบ 2 หน้า 3-4 จุดมุ่งหมายของการเรียนศิลปะวิจักษณ์ มีดังนี้

1.         เพื่อให้เข้าใจความสัมพันธ์ของโครงสร้างของศิลปะ

2.         เพื่อให้เกิดความรู้สึกซาบซึ้งในความงามของศิลปกรรม

3.         เพื่อพัฒนารสนิยม

4.         เพื่อศึกษาเรื่องราวของมนุษย่ให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ สภาพสังคม ประเพณี และ วัฒนธรรมของคนในอดีต

89.       การจัดวางเส้น รูปร่าง พื้นผิว และช่องว่าง ถือเป็นโครงสร้างของงานศิลปะ

ตอบ 1 หน้า 330 โครงสร้างของงานศิลปะ (The Structure of Art) หมายถึง การจัดวางองค์ประกอบ ของเส้น คุณค่า รูปร่าง รูปลักษณะ มวล พื้นผิว และช่องว่างให้มีคุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ คือ ให้เกิดมีความสมดุล มีสัดส่วน มีช่วงจังหวะ มีความกลมกลืน มีความขัดแย้ง และมีจุดเด่น ในงานศิลปะ

90.       การประจักษ์ในด้านความงามของศิลปะจะช่วยพัฒนารสนิยมของคนให้ดีขึ้น

ตอบ 1 หน้า 4 รสนิยมของคนเราทุกคนจะพัฒนาไปตามวัย และย่อมมีพัฒนาการไปในทางที่ดีขึ้น ถ้าเรารู้จักศึกษาและหาประสบการณ์ใหม่ ๆ พร้อมทั้งรู้จักเอาใจใส่ในสิ่งรอบ ๆ ตัว และ เปลี่ยนแปลงปรับปรุงตัวอยู่เสมอ โดยนักปราชญ์และศิลปินทั้งหลายให้ความเห็นว่า ความรู้สึก ซาบซึ้งและเข้าใจในศิลปะ หรือการประจักษ์ในด้านความงามของศิลปะ เป็นสิ่งสำคัญที่สุด ที่จะช่วยพัฒนารสนิยมของคนให้ดีขึ้นได้

91.       ศิลปะสามารถสะท้อนวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนในอดีตได้ แต่ต้องไม่เกิน 50 ปี

ตอบ 2 หน้า 4 – 57 ศิลปะสามารถสะท้อนวิถีชีวิตความเป็นอยู่ สภาพสังคม ประเพณี และวัฒนธรรม ของคนในอดีตได้ ดังนั้นเราจึงสามารถเข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ของคนในสมัยก่อนได้จาก งานศิลปกรรมทุกชนิด ไม่ว่างานศิลปกรรมนั้นจะมีอายุเก่าแก่เพียงใด ดังที่นักโบราณคดีให้ ความเห็นว่า ศิลปกรรมย่อมเป็นสิ่งสำคัญที่บ่งบอกถึงความเจริญในอดีต และศิลปะย่อมเป็น หลักฐานอ้างอิงทางประวัติศาสตร์ได้ดีที่สุด

92.       ศิลปกรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น

ตอบ 1 หน้า 4 ศิลปกรรมย่อมคู่กับวัฒนธรรมเสมอ เพราะศิลปกรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นและ แสดงออกถึงความเจริญของสังคม วิถีชีวิตความเป็นอยู่ และความคิดอ่านของศิลปิน จึงได้ ถ่ายทอดออกมาเป็นงานศิลปะ ดังนั้นการศึกษาศิลปะจึงอาจกล่าวได้ว่า คือการศึกษา เรื่องราวของมนุษย์

93.       ศาสนาเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างศิลปะ

ตอบ 1 หน้า 15 คติแห่งความเชื่อได้มีผลต่อการสร้างสรรค์งานศิลปะมาตลอด จนกระทั่งเกิดมีศาสนาขึ้น ศิลปกรรมทุกแขนงได้เปลี่ยนมารับใช้ศาสนาเป็นส่วนใหญ่ จึงอาจกล่าวได้ว่าศาสนาเป็น แรงบันดาลใจอันยิ่งใหญ่ต่อการสร้างสรรค์งานศิลปะ ซึ่งคติความเชื่อของศาสนาแต่ละศาสนา ที่แตกต่างกันย่อมเป็นผลให้แบบอย่างและลักษณะของศิลปกรรมแตกต่างกันไปด้วย

94.       ศิลปกรรมทุกแขนงในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ทำขึ้นจากคติความเชื่อถือ

ตอบ 1 หน้า 14-15 ศิลปกรรมทุกแขนงในสมัยก่อนประวิติศาสตร์ไม่ว่าจะเป็นจิตรกรรมประติมากรรม และสถาปัตยกรรม ย่อมทำขึ้นจากคติความเชื่อถือทั้งสิ้น เช่น รูปเทพธิดาวีนัส หรือเทพธิดาแห่งความอุดมสมบูรณ์ จะปรากฏอยู่ในแหล่งก่อนประวัติศาสตร์ทั่วไปทั้งในยุโรป และเอเชีย ได้แก่ ที่สเปน ฝรั่งเศส อินเดีย และไทย

95.       แม้คติความเชื่อของศาสนาแต่ละศาสนาจะแตกต่างกัน ก็ไมส่งผลห้แบบอย่างและลักษณะของศิลปกรรม แตกต่างกันไปด้วย

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 93. ประกอบ

ข้อ 96. – 100. จงพิจารณาเลือกคำตอบข้อ 1-4 ใช้ตอบคำถามต่อไปนี้

(1) แบบสีฝุ่น   (2) แบบปูนเปียก

(3)       แบบขี้ผึ้ง          (4) แบบขี้ผึ้งผสมนํ้ามัน

96.       การเขียนภาพแบบใดละเอียดและประณีตที่สุด

ตอบ 1 หน้า 160 – 161 การเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังแบบสีฝุ่น (Tempera) เป็นแบบที่ละเอียด และประณีตที่สุด ก่อนจะเขียนต้องเอาฝุ่นสีขาวผสมกับนํ้ากาวที่ทำจากเม็ดในมะขาม โดยคั่วเม็ดมะขามให้ร้อนและแช่นํ้าไว้จนเปลือกนอกล่อนออกแล้วทิ้งไป เอาแต่เม็ดในมะขามมาต้ม จนเป็นวุ้นแล้วละลายกับนํ้าพอสมควร ฉาบทาลงพื้นหลาย ๆ ครั้งและขัดให้เรียบ ทั้งนี้สีที่ใช้ ต้องผสมกับกาวหรือยางไม้ แต่จะต้องรอให้ผนังแห้งสนิทดีก่อน จึงลงมือเขียนได้

97.       วิธีที่ต้องฉาบทาลงพื้นหลาย ๆ ครั้ง

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 96. ประกอบ

98.       วิธีที่ใช้กับการเขียนภาพขนาดใหญ่

ตอบ 2 หน้า 160 การเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังแบบปูนเปียก (Fresco) เหมาะสำหรับการเขียนภาพ ขนาดใหญ่ เพราะต้องเขียนสีลงบนพื้นผนังที่ฉาบด้วยปูนและทรายเมื่อยังเปียกอยู่ หากปูนอยู่ตัวแล้ว จะเขียนสีลงบนผนังต่อไปอีกไม่ได้ เพราะพื้นผนังที่ฉาบปูนจะไม่ดูดสีที่ละลายนํ้า จึงต้องทำให้เสร็จ ภายใน 4-5 ชั่วโมง ดังนั้นการที่จะเปลี่ยนเป็นรูปขนาดเล็กและละเอียดจึงเป็นไปไม่ได้

99.       ก่อนจะเขียนต้องเอาฝุ่นสีขาวผสมกับนํ้ากาว

ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 96. ประกอบ

100.    ต้องทำให้เสร็จภายใน 4-5 ชั่วโมง

ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 98. ประกอบ

WordPress Ads
error: Content is protected !!